กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.)
คำสำคัญ:
นโยบายสุขภาพ, การค้าระหว่างประเทศ, การเชื่อมโยงองค์ความรู้, ความสอดคล้องเชิงนโยบายบทคัดย่อ
บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณาผลกระทบต่อความเชื่อมโยงของนโยบายสุขภาพ ด้วยวิธีการศึกษาด้วยการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้กรอบแนวคิดการประเมินผลแบบยุทธศาสตร์เฉพาะส่วน การบรรลุเป้าหมาย และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง ผลการศึกษาพบว่า คจคส. สามารถวางกรอบองค์ความรู้และสร้างความเชื่อมโยงนโยบายได้ในระดับการติดตามนโยบายจากภาครัฐ และสามารถเป็นเวทีในการสร้างการมีส่วนร่วม โดยได้สร้างความเชื่อใจระหว่างตัวแสดงทางนโยบายให้สามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างสมัครใจ แต่ยังพบอุปสรรคอยู่ในเรื่องของโครงสร้างการทำงาน ข้อจำกัดของข้อเสนอทางนโยบาย ความไม่แน่นอนของตำแหน่งและตัวบุคคลในกรรมการ และข้อจำกัดในเรื่องความรวดเร็วในการนำเสนอข้อมูลทางวิชาการและองค์ความรู้ให้ทันกระแสนโยบาย งานวิจัยจึงมีข้อเสนอแนะให้พัฒนา คจคส. ให้เป็นเวทีการสร้างการมีส่วนร่วมอย่างเป็นทางการและสร้างฐานธนาคารข้อมูลเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศและนโยบายสุขภาพ จนไปถึงการปรับการทำงานในเชิงรุกและสร้างการสื่อสารสู่สาธารณะให้ไกลกว่าแค่วงวิชาการ
References
Krugman P. Competitiveness: a dangerous obsession [internet]. Foreign Affairs; 1994 [cited 2021 Jan 22]. Available from: https://www.foreignaffairs.com/articles/1994-03-01/competitiveness-dangerous-obsession.
Smith R, Chantal B, Zafar M, Beyer P, Nicj D. Trade and health: towards building a national strategy. Geneva: World Health Organization; 2015.
Anderson JA. Explanatory roles of mission and culture: organizational effectiveness in Tennessee’s community colleges (doctoral dissertation). Memphis: University of Memphis; 2000.
Ashraf G, Kadir S. A review on the models of organizational effectiveness: a look at Cameron’s model in higher education. International Education Studies 2012;5(2):80-7.
Jensen, Michael C. Value maximization, stakeholder theory, and the corporate objective function. Business Ethics Quarterly 2002;12(2):235–56.
Latham GP, Locke EA. Self-regulation through goal setting. Organizational Behavior and Human Decision Processes 1991;50(1):212–47.
Robbins SP. Organization theory: structures, designs, and applications. New Jersey: Prentice-Hall; 1990.
Colby D, Collins E. ActKnowledge Webinar: fundamentals of theory of change [internet]. 2013 [cited 2019 Mar 13]. Available from: https://www.theoryofchange.org/wp-content/uploads/toco_library/pdf/TheoryofChangeFundamentalsWebinarJune2013.pdf.
Martz W. Evaluating organizational performance: rational, natural, and open system model. American Journal of Evaluation 2013;34(3):385-401.
Information Center of National Health Commission Office. The 1st – 6th Meeting Resolution of The National Health Assembly 2008-2013 [internet]. 2016 [cited 2021 Mar 22]. p. 18-19. Available from: https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/26939. (in Thai)
The Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007). (Aug 24, 2007). (in Thai)
Information Center of National Health Commission Office. The 1st – 6th Meeting Resolution of The National Health Assembly 2008-2013 [internet]. 2016 [cited 2021 Mar 22]. p. 200. Available from https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/26939. (in Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุขอยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น