การพัฒนาบริการช่องทางด่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
คำสำคัญ:
โรคหลอดเลือดสมอง, บริการช่องทางด่วนบทคัดย่อ
การวิจัยและพัฒนานี้ เพื่อศึกษาสถานการณ์และพัฒนาการบริการช่องทางด่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ร่วมดำเนินการวิจัย คือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ดูแลและบุคลากรผู้ให้บริการ เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางการดูแลและส่งต่อผู้ป่วย แนวคำถามในการ สัมภาษณ์ผู้ป่วยและผู้ดูแล และแนวคำถามในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการศึกษา กระบวนการพัฒนา คือ 1) การเข้าถึงบริการช่องทางด่วนที่รวดเร็ว 2) การคัดกรองผู้ป่วย 3) กระบวนการดูแลผู้ป่วย 4) การพัฒนาแนวทางการดูแลและส่งต่อผู้ป่วย และ 5) การติดตามผู้ป่วย ระยะประเมินผล พบว่า บุคลากรผู้ให้บริการมีการปฏิบัติตามแนวทางการดูแลและส่งต่อผู้ป่วย ร้อยละ 100 รวมระยะเวลาทั้งหมดตั้งแต่แรกรับจนถึงส่งต่อเฉลี่ย 13.47 นาที และจากการติดตามผลหลังส่งต่อไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าระบบบริการช่องทางด่วนที่พัฒนาขึ้นช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐาน
References
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข. (2558). สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2557. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข.(2563). สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2562. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข.
สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7. แผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 7 ปีงบประมาณ 2560. [อินเทอร์เน็ต]. 2560. [เข้าถึงเมื่อ 28 มิถุนายน 2562]. เข้าถึงได้จาก : http://bps.moph.go.th/ new_bps/.
กิตติยา วงษ์ขันธ์. (2561). รูปแบบการวิจัยและพัฒนา(R&D)และรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม(PAR) [อินเตอร์เน็ต].สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2564. จากเว็ป ไซต์:http://www.ubu.ac.th/web/files_up/08f2018072012262188.pdf
รัตนะ บัวสนธ์. (2552).การวิจัยและพัฒนา.ใน ประมวลสาระชุดวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. หน่วยที่ 6. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุพักตร์ พิบูลย์ และคณะ.(2556). การวิจัยและพัฒนางานวิชาการ(R&D). [อินเตอร์เน็ต].สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2564./ จากเว็ปไซต์:https://nakhonsawanresearch.blogspot.com
สมศักดิ์ เทียมเก่า.(2562). ความเป็นมาของการพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตสุขภาพที่ 7 (ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์). วารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย,18(1), 25-41.
รัตนาภรณ์ ยนต์ตระกูล.(2560). การพัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันภายใต้บริบทของโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งและเครือข่ายบริการ. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 27(2), 80-95.
นันทวรรณ ทิพยเนตร, วชิร ชนะบุตร. (2559).รายงานการวิจัย เรื่อง ความรู้เรื่องความเสี่ยงและอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง : กรณีศึกษา โรงงานทอผ้าแห่งหนึ่งในจังหวัดมหาสารคาม. สาขาเวชกิจฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
Fussman C, Rafferty AP, Lyon-Callo S, Morgenstern LB, Reeves MJ.(2010). Lack of association between stroke symptom knowledge and intent to call 911:a population-based survey. Stroke, 41(7), 1501-7.
Duque AS, Fernandes L, Correia AF, Calvinho I, Cardoso G, Pinto M, et al. Awareness of stroke risk factors and warning signs and attitude to acute stroke.International Archives of Medicine [Online]. 2015 [cited 2019 Nov25.Available from : https://imed. pub/ojs/
index.php/iam//article/view/1236.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.