ผลของการใช้แนวทางปฏิบัติเพื่อการหย่า High flow nasal cannula ในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิดโรงพยาบาลบางสะพาน

ผู้แต่ง

  • ชุติมา เซ้งอาศัย กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

คำสำคัญ:

การหย่า, HFNC, แนวทางปฏิบัติ, ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล, ระยะเวลาการนอนในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล : การใช้ High low nasal cannula เพิ่มขึ้นในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด แต่ยังไม่มีแนวทางที่เป็นมาตรฐานในการหย่า high low nasal cannula ของทารกแรกเกิดภายหลังจากใช้เครื่องช่วยหายใจ
วัตถุประสงค์ : สร้างแนวทางปฏิบัติการหย่า High flow nasal cannula ที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย
วิธีการศึกษา : ทารกแรกเกิดที่รักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิดด้วย High low nasal cannula ตั้งแต่ ตุลาคม พ.ศ. 2563 - สิงหาคม พ.ศ. 2564 ทารก 163 คนกลุ่มก่อนใช้แนวทางปฏิบัติ High low nasal cannula เปรียบเทียบกับ 163 คนทารกกลุ่มหลังใช้แนวทางปฏิบัติ High low nasal cannula ศึกษาแบบ prospective cohort เปรียบเทียบข้อมูลระยะเวลาการใช้ High low nasal cannula และการใช้ออกซิเจน, ระยะเวลานอนในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิดและระยะเวลานอนโรงพยาบาล,อุบัติการณ์การหย่าเครื่อง High flow nasal cannula ไม่สำเร็จ
ผลการศึกษา : ใช้สถิติ independent t-test เปรียบเทียบทารกแรกเกิดก่อนและหลังการใช้แนวทางปฏิบัติเพื่อการหย่า High flow nasal cannula พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้แนวทางปฏิบัติเพื่อการหย่า High low nasal cannula ในเรื่องของระยะเวลาการใช้ High flow nasal cannula ( 93.0 gif.latex?\pm 57.0 กับ 38.5gif.latex?\pm28.4 ), ระยะเวลาการนอนในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด (7.6gif.latex?\pm7.2 กับ 3.9gif.latex?\pm3.0 ), ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล ( 12.0gif.latex?\pm6.9 กับ 5.9gif.latex?\pm3.6 ) และไม่เพิ่มขึ้นของอุบัติการณ์การหย่าเครื่อง High fow nasal cannula ไม่สำเร็จ
สรุป : การใช้แนวทางปฏิบัติการหย่า High low nasal cannula ของโรงพยาบาลบางสะพานเกี่ยวข้องกับระยะเวลาที่ลดลงของการใช้ High low nasal cannula, ระยะเวลานอนในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิดและระยะเวลานอนโรงพยาบาล

Downloads

Download data is not yet available.

References

Dani C, Pratesi S, Migliori C, Bertini G. High flow nasal cannula therapy as respiratory support in the preterm infant. Pediatric Pulmonology, 2009;44,629-634.

Saslow J, Aghai Z, Nakhla T, Hart J, LawryshR., Stahl G.Work of breathing using high-flow nasal cannula in preterm infants. Journal of Perinatol. 2006;26:476-80.

Kopelman A, Holbert D. Use of oxygen cannulas in extremely low birthweight infants is associated with mucosal trauma and bleeding, and possibly with coagulase-negative staphylococcal sepsis. Journal of perinatology. 2003;23.

Betters K A, Hebbar K B, McCracken, C, Heitz D, Sparacino S, Petrillo T. A Novel Weaning Protocol for High-Flow Nasal Cannula in the PICU. Pediatric Critical Care Medicine, 2017;18:e274-e280.

Farrell D. The Effect of High Flow Nasal Cannula Weaning Protocol on Decreasing Length of Stay in Pediatric Intensive Care, Doctor of Nursing Practice Papers. 7. 2019;7.

Fan L, Su Y, Elmadhough, O. A, Zhang Y, Zhang Y, Gao D, Chen W. Protocol directed weaning from mechanical ventilation in neurological patients: A randomized controlled trial and subgroup analyses basedon consciousness. Neurological Research,2015;37:1006-1014.

Arici E, Tastan S, Ayhan H, Lyigun E, Can M F,YildizR.Weaning from mechanical centilation driven by non-physician health care professionals versus physicians. European Surgical Research. 2016;9: 274-283.

Crocker, C. Nurse led weaning from Ventilator and respiratory support. Intensive and Critical Care Nursing, 2002;18:2.

Silverman W, Andersen D. A controlled clinical trial of effects of water mist on obstructive respiratory signs, death rate and necropsy findings among premature infants. Pediatrics. 1956;17:10

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-30