ผลลัพธ์ระยะยาวทางพัฒนาการของเด็กที่มีภาวะสมองขาดออกซิเจนในช่วงแรกเกิด และได้รับการรักษาด้วยการลดอุณหภูมิกาย

ผู้แต่ง

  • สุพิชฌาย์ ธรรมอิสระกุล ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • อดิศร์สุดา เฟื่องฟู ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • ธันยพร เมฆรุ่งจรัส ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • สิจา ลีลาทนาพร ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

คำสำคัญ:

ภาวะสมองขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยง, การรักษาด้วยการลดอุณหภูมิกาย, ผลลัพธ์ระยะยาว ทางระบบประสาทและพัฒนาการ

บทคัดย่อ

บทนำ: การลดอุณหภูมิกายเป็นการรักษามาตรฐานของทารกที่มีภาวะสมองขาดออกชิเจนและเลือดไปเลี้ยงระดับปานกลางถึงรุนแรงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ซึ่งสามารถช่วยลดอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อน เช่น พัฒนาการที่ผิดปกติ ภาวะสมองพิการ เป็นต้น ในประเทศไทยสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (ส.เด็ก) และโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรีมีการรักษาโดยวิธีดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 และ 2556 ตามลำดับ แต่ยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับผลลัพท์ระยะยาว
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินพัฒนาการและระดับความสามารถด้านการเคลื่อนไหวของเด็กอายุ 12 เดือนถึง 60 เดือน ที่มีภาวะสมองขาดออกซิเจนในช่วงแรกเกิดและได้รับการรักษาด้วยการลดอุณหภูมิกายใน ส.เด็กและโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี
วิธีการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลการคลอด การรักษาหลังคลอด ประวัติการตั้งครรภ์ ประวัติการเลี้ยงดู และข้อมูลพื้นฐานของครอบครัว (ระดับการศึกษา และเศรษฐาน:) และประเมินพัฒนาการผู้เข้าร่วมวิจัยด้วย MSEL, GMFM และ GMFCS ให้ผู้ปกครองกรอกแบบทดสอบ TONI-IV, Modifed Checklist for Autism in Toddlers ฉบับภาษาไทย และ แบบคัดกรองโรคในกลุ่มพัฒนาการผิดปกติอย่างรอบด้าน (PDDSQ) นำข้อมูลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่มัธยฐานหรือร้อยละ และวิเคราะห์หาปัจจัยร่วมและผลกระทบระยะยาว
ผลการศึกษา: มีผู้เข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 18 คน พบว่าระดับสติปัญญาโดยเฉลี่ย (Cognitive function) เท่ากับ 70.33 gif.latex?\pm 25.16 ด้านระดับความสามารถด้านการเคลื่อนไหว (Gross Motor Function Classification; GMFCS) อยู่ในระดับปกติร้อยละ 77.8 จากการหาความสัมพันธ์พบว่า เส้นรอบศีรษะที่ต่ำกว่า P3 มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ค่าเฉลี่ย DH ใน blood gas ที่อายุ 1 ชั่วโมงหลังเกิดที่ต่ำจะส่งผลทำให้พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (Fine motor) ผิดปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value 0.012 และ 0.001 ตามลำดับ)
สรุปผลการศึกษา: ผลการประเมินพัฒนาการในการศึกษานี้ พบเด็กที่มีระดับสติปัญญาโดยรวมต่ำกว่าค่าเฉลี่ยมากสูงถึง 61.1 % และมีภาวะพิการรุนแรง 22.2% ไม่พบปัจจัยใดมีความสัมพันธ์กับผลการประเมินรวมแต่พบปัจจัยที่สัมพันธ์กับพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวและพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

Downloads

Download data is not yet available.

References

World Health Organization. MCEE-WHO methods and DATA sources for child cause of death 2000-2015. 2016.

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.พัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด.แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีด้านสาธารณสุขฉบับ0ปรับปรุงครั้งที่22561; 1:60.

Dharmapuri V, Anil N. Perinatal and Neonatal Care in Developing Countries. In:Fanaroff AA, Martin RJ, Walsh MC, editors. Fanaroff & Martin’s Neonatal-Perinatal Medicine. 10th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders; 2015.P.111-27.

Rainaldi, Matthew A., and Jeffrey M. Perlman. Pathophysiology of birth Asphyxia. Clin Perinatal, vol. 43, no. 3 2016, pp. 409-22.

Endrich O, Rimle C, Zwahlen M, Triep K, Raio L, Nelle M. Asphyxia in the Newborn: Evaluating the Accuracy of ICD coding, Clinical Diagnosis and Reimbursement: Observational Study at Swiss Tertiary Care Diagnosis and Routinely Collected Health Data from 2011-2015. Plos One,

vol. 12, no.1, 2017, doi:10.1371/journal.pone.0170691.

Chalak Lina F. Perinatal Asphyxia in the Delivery Room: Initial Management and Current Cooling Guideline. NeoReviews, vol. 17 no.8, 2016, doi:10.1542/neo.17-8-e463.

Jacobs S, Susan E. Cooling for Newborns with Hypoxic Ischemic Encephalopathy. Cochrane Database of Systematic Review, 2013, doi:10.1002/14651858.cd00331.pub3.

Battin MR, Dezoete JA, Gunn TR, Gluckman PD, Gunn AJ. Neurodevelopmental Outcome of Infants Treated With Head Cooling and Mild hypothermia After Perinatal Asphyxia. Pediatric. 2001;107(3):480-4.

Shankaran S, Pappas A, Laptook AR, Mcdonald SA, Ehrenkranz RA, Tyson JE, et al. Outcomes of Safety and Effectiveness in a Multicenter Randomized, Controlled trial of Whole-Body Hypothermia of Neonatal Hypoxic-Ischemic Encephalopathy. Pediatrics. 2008;122(4):e791-8.

Jeanie LC, Lee CF, Rod WH, Katherine JL, Lex WD, Terrie EI, et al.Prognostic Utility og Magnetic Resonance Imaging in Neonatal Hypoxic-Ischemic Encephalopathy. Arch Pediatr Adolesc Med. 2012;166(7):634-640.

Lauren CW, Floris G, Kalyani M, Mats B, Maarten HL, Linda CM, et al. A Novel Megnetic Resonance Imaging Score Predicts Neurodevelopmental Outcome After Perinatal Asphyxia and Therapeutic Hypothermia. J Pediatr 2018;192:33-40.

Mireille G, Marissa P, Elka M, Jorge D, Nicholas JB, Mary-Ann H, et al. Influence of timing of initiation of therapeutic hypothermia on brain MRI and Neurodevelopment at 18 months in infants with HIE: a retrospective cohort study. BMJ pediatrics open 2019;3:e000442. Doi:10.1136/bmjpo-2019-000442.

Smail Z, Suada H, Feriha C, Sajra U, Mirna S, Belma K. Neurodevelopmental Follow Up After Therapeutic Hypothermia for Perinatal Asphyxia. Original paper: Med Arh. 2015 Dec; 69(6): 362-366.

Lina FC, Tara LD, Pablo JS, Ashley L, Roy JH, Michael CM, et al. Neurodevelopmental Outcomes after Hypothermia Therapy in the Era of Bayley-III. J Perinatal. 2014; 34(8): 629-633. Doi:10.1038/jp.2014.67.

An NM, Iordanis ED, Judy BN, Ali F, Gilbert V, Robert MS, et al. Neonatal Neurobehavior After Therapeutic Hypothermia for Hypoxic Ischemic Encephalopathy. Early Hum Dev. 2015; 91(10): 593-599. Doi:10.1016/j.earIhumdev.2015.07.008.

Girija N, Athina P, Seetha S. Outcome in Childhood Following Therapeutic Hypothermia for Neonatal Hypoxic-Ischemic Encephalopathy (HIE). Semin Perinatal. 2016; 40(8): 549-555. Doi:10.1053/j.semperi.2016.09.007.

Badawi N, Dixon G, Felix JF. Autism following a history of newborn encephalopathy: more than a coincidence? Dev Med Child Neurol. 2006; 48:85-9.

Eileen MM. Mullen Scales of Early Learning. Age Edition. The United States of America: NCS pearson; 1995.

Linda B, Rita JS, Susan KJ. Test of Nonverbal Intelligence. The United States of America: Pro-ED USA; 2010.

ทรงภูมิ อธิภูกนก, ฐานัดดา ศิริพร, สมลักษณ์ ทองมีสี.ผลระยะสั้นของการรักษาทารกแรกเกิดที่มีภาวะสมองขาดออกซิเจนด้วยการลดอุณหภูมิกายในโรงพยาบาลชลบุรี. รายงานการวิจัย. กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี.2560.

ณัฐพงศ์จันทร์เจริญ, วิบูลย์กาญจนพัฒนกุล,มิรา โครานา. ผลการรักษาด้วยการลดอุณหภูมิกายในทารกที่มีภาวะขาดออกซิเจนปริกำ เนิดของสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. รายงานการวิจัย. อนุสาขากุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดปริกำ เนิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี.2561.

วัณทนา ศิริธราธิวัตร และ Ian T. GMFCS - E& R ฉบับภาษาไทย. วารสารกายภาพบำ บัด.2551;30(1):26-36.

Alice M, Gianluca C, Giulia G, Maria L, Cin-zia P, Roberta P, et al. Early instrumental predictors of long term neurodevelopmental impairment in newborns with perinatal asphyxia treated with therapeutic hypothermia. Signa vitae. 2018; 14(1): 81-85.

Caroline E A, Geraldine B B, Deirdre M M. Short and long term prognosis in perinatal asphyxia: An update. World J Clin Pediatr

February 8; 5(1): 67-74.

Carlo C Q, Giuseppe F, Daniela L. Brainstem tegmental lesions in neonates with hypoxicischemic encephalopathy:

Magnetic resonance diagnosis and clinical outcome. World J Radiol 2016 February 28; 8(2): 117-123

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-31