ผลการรักษาทารกที่มีภาวะสมองขาดออกซิเจนระยะปริกำเนิดโดยวิธีลดอุณหภูมิที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลขอนแก่น
คำสำคัญ:
ทารกแรกเกิด, ภาวะสมองขาดออกชิจนระยะปริกำเนิด, การรักษาโดยวิธีลคอุณหภูมิ, พัฒนาการบทคัดย่อ
ความเป็นมา: ภาวะสมองขาดออกซิเจนระยะปริกำเนิดในทารกแรกเกิดเป็นหนึ่งในภาวะฉุกเฉินและจำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ปัจจุบันมีการรักษาด้วยการลคอุณหภูมิในทารกแรกเกิดที่ช่วยให้ผลการรักษาของทารกดียิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการรักษาและทราบถึงปัจจัยที่ทำให้ทารกที่มีภาวะสมองขาคออกซิเจนระยะปริกำเนิดโคยวิธีลคอุณหภูมิเสียชีวิตหรือเกิดภาวะทุพพลภาพ
วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาทารกที่มีภาวะขาดออกซิเจนระยะปริกำเนิดในทารกแรกเกิด โดยวิธิลดอุณหภูมิ ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดระยะวิกฤต โรงพยาบาลขอนแก่น ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงกันยายน 2564
ผลการศึกษา: ทารกที่มีภาวะสมองขาดออกชิจนระยะปริกำเนิดและได้รับการรักษาโดยวิธีลคอุณหภูมิจำนวน 30 ราย พบเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เป็นทารกที่มีภาวะสมองขาคออกซิเจนระยะปริกำเนิดระดับปานกลาง 15 ราย และระดับรุนแรง 15 ราย ทารกส่วนใหญ่คลอดที่โรงพยาบาลขอนแก่น 17 ราย(ร้อยละ 56.7) พบว่าทารกรอดชีวิตและมีพัฒนาการปกติ 13 ราย (ร้อยละ 43.3) ทารกรอดชีวิตและมีพัฒนาการผิดปกติ 4 ราย (ร้อยละ 13:4) และทารกเสียชีวิต 13 ราย (ร้อยละ 43 3) และพบว่าการได้รับเครื่องช่วยหายใจในรูปแบบที่แตกต่างกัน (P value 0.007) ระดับ albumin น้อยกว่า 2.5 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร(P value 0.010) และภาวะเลือดออกในโพรงสมอง (P value 0.005) ของทารกทั้ง 3 กลุ่มมีผลต่อผลลัพธ์การรักษาของทารกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ทารกที่มีภาวะสมองขาดออกซิจนระยะปริกำเนิดและได้รับการรักษาโดยวิธีลดอุณหภูมิ มีอัตราการรอดชีวิตมากขึ้นแต่ทารกบางส่วนมีพัฒนาการผิดปกติ โดยพบว่าการได้รับเครื่องช่วยหายใจในรูปแบบที่แตกต่างกัน ระดับ albumin และภาวะเลือดออกในโพรงสมองของทารกทั้ง 3 กลุ่มมีผลต่อผลลัพธ์การรักษาของทารก
Downloads
References
ฉัตรฉาย เปรมพันธ์พงษ์. Hypoxic-ischemic encephalopathy. ใน: สันติ ปุณณะหิตานนท์, บรรณาธิการ. Practical Approaches For Neonatal Problems. กรุงเทพ: บริษัท แอคทีฟ พริ้นท์ จำกัด, 2558: 48-59.
Kurinczuk JJ, White-Koning M, Badawi N. Epidemiology of neonatal encephalopathy and hypoxic-ischemic encephalopathy. Early
Hum Dev. 2010; 86: 329-38.
Sarnat HB, Sarnat MS. Neonatal encephalopathy following fetal distress. A clinical and electroencephalographic study. Arch Neurol. 1976; 33: 696-705.
Finer NN, Robertson CM, Richards RT, Pinnell LE, Peters KL. Hypoxic-ischemic encephalopathy in term neonates: perinatal factors and outcome. J Pediatr. 1981; 98:112-7.
Robertson C, Finer N. Term infants with hypoxic-ischemic encephalopathy: outcome at 3.5 years. Dev Med child Neurol. 1985;27: 473-84.
Levene MI, Sands C, Grindulis H, Moore JR. Comparison of two methods of predicting outcome in perinatal asphyxia. Lancet. 1986;1: 67-9.
Glenys Dixon, Nadia Badawi, Jennifer J. Kurinczuk, John M. Keogh, et al. Early developmental Outcomes After Newborn Encephalopathy. Pediatrics 2002; 109:26-33.
Shankaran, S., et al. Outcomes of safety and effectiveness in a multicenter randomized, controlled trial of whole-body hypothermia for neonatal hypoxic ischemic encephalopathy. Pediatrics. 2008; 122 (4):791-8.
Gluckman PD, Wyatt JS, Azzopardi DV, et al. Selective head cooling with mild systemic hypothermia after neonatal encephalopathy:
multicenter randomized trial. Lancet . 2005;365: 663-70.
Jacobs SE, Berg M, Hunt R, et al. Cooling for newborns with hypoxic ischemic encephalopathy. Cochrane Database Syst Rev. 2013; 1: CD003311
Papile, L. A., et al. Hypothermia and neonatal encephalopathy. Pediatric. 2014; 133(6):
-50.
วณิชยา วันไชยธนวงศ์. ลักษณะทางคลินิกที่เพิ่มความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ในเด็กทารกที่ขาดออกซิเจนอย่างรุนแรงระหว่างคลอด. วารสารกุมารเวชศาสตร์ ฉบับเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2560: 185-94.
Laptook A, Tyson J, Shankaran S, et al. Elevated temperature after hypoxic-ischemic encephalopathy: risk factor for adverse outcomes. Pediatrics. 2008; 122(3): 491-9.
Gyrukovits Z, Maro′tiA′, Re′nes L, Ne′meth G, Pa′l A, Orvos H. Adrenal haemorrhage interm neonates: a retrospective study from the
period 2001-2013. J Matern Fetal Neonatal Med. 2015; 28(17): 2062-5.
Montasser N, Deirdre M, Geraldine B. et al. Early blood glucose profile and neurodevelopmental outcome at two years in
neonatal hypoxic-ischemic encephalopathy. BMC Pediatrics 2011, 11: 10
Prabhavathi R, Sandhya. V, Govindaraj M, Dr. Puttaswamy. M. Study of nucleated RBC count as a marker of severity of perinatal asphyxia in newborns- a case control study. Pediatric Review. 2018 Feb; 5(2): 55-9.
ชัชชญา ปุณญาภัสส์, แสงแข ชำนาญวนกิจ, ปริศนา พานิชกุล, ธานินทร์ พิรุณเนตร. การศึกษาเปรียบเทียบผลการประเมินระบบประสาทระหว่างทารกกลุ่ม
เสี่ยงที่มีผลการตรวจวิเคราะห์แก๊สในหลอดเลือดแดงสายสะดือผิดปกติและทารกที่มีผลการตรวจปกติ. วารสารกรมการแพทย์ ปีที่ 44 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2565: 90-95.
Ross MG. Abstract for Reference 60 of “Umbilical cord acid-base analysis at delivery”. Am J Obstet Gynecol. Epub 2018 Dec 6. 2019;220(4):348.
Sabir H, Jary S, Tooley J, Liu X, Thoresen M. Increased inspired oxygen in the first hours of life ia associated with adverse outcome in
newborns treated for perinatal asphyxia with therapeutic hypothermia. J Pediatr. 2012;161(3): 409-16.
Akram E, Naglaa F, Hany A. et al. Hepatic Injury in Neonates with Perinatal Asphyxia. Global Pediatric Health Volume8: 1-9.
Groenendaal F, van Bel F (Jun12,2019) Perinatal asphyxia in term and late preterm infants. Retrieved from:https://www.uptodate.com/contents/perinatal-asphyxia-in-term-and-late-preterm-infants.
Thyagarajan B, Tillqvist E, Baral V, Hallberg B, Vollmer B, Blennow M. Minimal enteral nutrition during neonatal hypothermia treatment for perinatal hypoxic-ischemic encephalopathy is safe and feasible. Acta Paediatr.2015; 104(2): 146-51.
Deepak C. Biomarkers for Prognostication in Hypoxic-Ischemic Encephalopathy. The Indian Journal of Pediatrics (October 2020) 87(10): 777-8.
American Academy of Pediatrics. Committee on Fetus and Newborn. Use of inhaled nitric oxide. Pediatrics.2000; 106(2Pt1): 344-5.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.