ลักษณะทางคลินิกของโรคจอประสาทตาผิดปกติในทารกเกิดก่อนกำหนด
คำสำคัญ:
โรคจอประสาทตาผิดปกติในทารกเกิดก่อนกำหนด, ทารกเกิดก่อนกำหนด, โรคปอคเรื้อรังในทารกแรกเกิดบทคัดย่อ
หลักการและเหตุผล : โรคจอประสาทตาผิดปกติในทารกเกิดก่อนกำหนด (retinopathy of prematurity, ROP) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ในทารกเกิดก่อนกำหนด ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดสายตาพิการในเด็กได้
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาลักษณะทางคลินิกของโรคจอประสาทตาผิดปกติในทารกเกิดก่อนกำหนดในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2563 และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดโรคจอประสาทตาผิดปกติอย่างรุนแรง
รูปแบบการศึกษา : retrospective descriptive study
วิธีการศึกษา : เก็บข้อมูลจากบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยในทารกแรกเกิดทุกเชื้อชาติที่เป็นโรคจอประสาทตาผิดปกติในทารกเกิดก่อนกำหนดในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ถึง 31 กันยายน พ.ศ. 2563
ผลการศึกษา : ทารกที่เป็น ROP มีทั้งหมด 70 คน เป็นผู้ป่วย scvcre ROP จำนวน 38 คน และ non-severe ROP 32 คน มีอายุครรภ์เฉลี่ย 28 สัปดาห์ (SD + 2.7 มีน้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ย 1042 กรัม (SD + 284.9) ได้รับออกซิเจนเฉลี่ยนาน 61.5 วัน (I0R 59) ลักษณะทางคลินิกที่พบในกลุ่มที่เป็น severe ROP มากกว่า
non-severe ROP อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ วิธีการคลอดแบบผ่าตัดคลอด (p-value 0.047)ระยะเวลาของ oxygen cannula (p-value 0.047) ระยะเวลาทั้งหมดของการได้รับออกซิเจน (p-value 0.019)และ hcmodynamically signifcant PDA (hs-PDA) (p-value 0.035) ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการเกิด severe ROP เทียบกับ non-severe ROP ได้แก่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ (OR2.85, 95%CI 1.07-7.55),น้ำหนักs 1000 กรัม (OR 2.85 95%CI 1.07-7.55), ระยะเวลาทั้งหมดที่ได้ออกซิเจน (OR 1.0l, 95%6CI 1.001-1.028), hs-PDA (OR 1. 03 95%CI 1.06-7.43) และจำนวนครั้งที่ได้รับเลือด (OR 1.16, 95%CI 1.01-1.34) เมื่อวิเคราะห์แบบพหุปัจจัยพบว่าไม่มีปัจจัยใดที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด scvcre ROP เทียบกับ non-severe ROP
สรุป : ลักษณะทางคลินิกที่สำคัญคืออายุครรภ์เฉลี่ย 28 สัปดาห์ น้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ย 1042 กรัม ระยะเวลาเฉลี่ยในการได้รับออกซิเจนนานเฉลี่ย 61.5 วัน และไม่พบปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด severe ROP เทียบกับ non-severe ROP เมื่อใช้การวิเคราะห์แบบพหุปัจจัย
Downloads
References
International Committee for the Classification of Retinopathy of Prematurity. The International Classification of Retinopathy
of Prematurity revisited. Arch Ophthalmol 2005; 123: 991-999.
Ann Hellstrom, Lois E H Smith, Olaf Dammann. Retinopathy of prematurity. Lancet 2013; 382: 1445-1457.
Yunxia Leng, Wenzhi Huang, Guoliang Ren. The treatment and risk factors of retinopathy of prematurity in neonatal intensive care units. BMC Ophthalmology 2018; 18: 301
Yousef Alizadeh, Incidence and Risk Factors for Retinopathy of Prematurity in North of Iran. J Ophthalmic Vis Res 2015; 10: 424-428.
André Moraes Freitas, Ricardo Mörschbächer, Mariana R. Thorell, et al. Incidence and risk factors for retinopathy of prematurity: a
retrospective cohort study. Int J Retin Vitr 2018; 4:20.
JiWoong Chang. Risk factor analysis for the development and progression of retinopathy of prematurity. PLoS ONE 2019; 14:
e0219934.
Arzu GEBEŞÇE. Retinopathy of prematurity: incidence, risk factors, and evaluation of
screening criteria. Turk J Med Sci 2016; 46:315-320.
Jong Hee Hwang, Eun Hee Lee, Ellen Ai-Rhan Kim. Retinopathy of Prematurity among Very-Low-Birth-Weight Infants in Korea: Incidence, Treatment, and Risk Factors. J Korean Med Sci 2015; 30:88-94.
Gilbert C, Fielder A, Gordillo L, et al. Characteristics of infants with severe retinopathy of prematurity in countries with low, moderate, and high levels of development: implications for screening programs. Pediatrics 2005; 115:e518-e525.
Ahmet Yagmur Bas, Nihal Demirel, Esin Koc, et al. Incidence, risk factors and severity of retinopathy of prematurity in Turkey (TR-ROP study): a prospective, multicentre study in 69 neonatal intensive care units. Br J Ophthalmol 2018;102:1711–1716.
YJ Ahn, KE Hong, HR Yum, et al. Characteristic clinical features associated with aggressive posterior retinopathy of
prematurity. Eye 2017; 31: 924–930.
อุษา ฐิติรัตน์สานนท์, ไอริน สุภางคเสน, ชัยรัตน์ เสาวพฤกษ์ และคณะ. Screening for Retinopathy of Prematurity in Queen Sirikit National Institute of
Child Health, Bangkok. จักษุเวชสาร; 2554;25(1):9- 16.
กอบลาภ ธงทอง. ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อโรคจอประสาทตาผิดปกติในทารกเกิดก่อนกำาหนดในโรงพยาบาลกำาแพงเพชร. วารสารวิชาการแพทย์
เขต 11; 2561;32:1261-1268.
ขนิษฐา สาลีวรรณ. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิด Retinopathy of Prematurity (ROP).วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์
บุรีรัมย์; 2559;31:2:99-110.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.