การศึกษาเปรียบเทียบผลการตรวจวัด ระดับแฟคเตอร์ 8 ด้วยวิธี One Stage Clot Based Assay และ Chromogenic Substrate Assay ในผู้ป่วยโรคฮีโมฟิเลีย เอ
คำสำคัญ:
ฮีโมฟีเลีย, แฟคเตอร์แปด, One Stage clot based assay, Chromogenic Substrate Assayบทคัดย่อ
โรคฮีโมฟีเลียเอ (Hemophilia A) เกิดจากการขาดแฟคเตอร์แปด (Factor VII) ซึ่งเป็นปัจจัยการแข็งตัว การตรวจวัดระดับแฟคเตอร์แปค โดยวิธี chromogenic substrate assay (CSA) ปริมาณความเข้มของสีที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาของสารตั้งต้น ซึ่งจะแปรผันตรงกับระดับแฟกเตอร์แปด
การศึกษานี้เป็นการเปรียบเทียบวิธีการตรวจวัดระดับแฟกเตอร์แปด โดยวิธี one stage clot based Assay (OSA) ซึ่งเป็นวิธีการตรวจวัดในงานประจำทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา กับวิธี CSA เพื่อพิจารณานำมาใช้เป็นวิธีการตรวจติดตามระดับแฟกเตอร์แปดในผู้ป่วยที่ได้รับแฟคเตอร์ชนิคเข้มข้น โดยใช้ ตัวอย่างพลาสมาของผู้ป่วยฮีโมฟีเลียเอ ก่อนและหลังได้รับการฉีดแฟกเตอร์ จำนวน 18 ราย แบ่งเป็น plasma-derived factor VII (pdFVII1) 17 ราย และ Emicizumab 1 ราย ผลการทดลองพบว่า ค่าที่ตรวจวัดได้ทั้งก่อนและหลังจากได้รับ pdFVII ของทั้งสองวิธีมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(P-value < 0.000 1) นั่นคือ ผู้ป่วยที่ได้รับ pdF VII สามารถใช้การตรวจวัคระดับแฟคเตอร์แปดได้ทั้งสองวิธี แต่ผู้ป่วยที่ได้รับยา Emicizumab มีค่าระดับแฟคเตอร์แปคต่ำกว่า lower detection limit ในทั้ง 2 วิธี ดังนั้นการตรวจวัดระดับแฟกเตอร์ทั้ง OSA และ CSA สามารถนำมาใช้ติดตามระดับแฟคเตอร์แปล
ในพลาสมาผู้ป่วยที่ได้รับ pdFVII ได้อย่างถูกต้องแม่นยำ แต่ไม่เหมาะสมกับผู้ป่วยที่ได้รับยา Emicizumab ในขณะที่การตรวจวัดระดับสารต้านแฟกเตอร์แปด (Factor VIll ihibior assay) ในผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเดียเอ ที่มีสารต้านที่ได้รับยา Emicizumab มีความเหมาะสมกว่าการตรวจวัดระดับสารต้านแฟกเตอร์แปดโดยตรงแต่อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคต
Downloads
References
อำไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์,บรรณาธิการ,โรคฮีโมฟีเลีย การรักษาและการป้องกัน.พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:ศูนย์ฝึกอบรมนานาชาติโรคเลือดออกง่าย-กรุงเทพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ,2549
ดารินทร์ ซ อโสตถิกุล,บรรณาธิการ, เอกวัฒน์ สุวันทโรจน์,รองบรรณาธิการ, สารสัมพันธ์ผู้ป่วยฮีโมฟีเลีย.ฉบับที่ 1:มูลนิธิโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลียแห่งประเทศไทย, 2558
Novembrino C, Boscolo Anzoletti M, Mancuso ME, Shinohara S, Peyvandi F. Evaluation of an automated chromogenic assay for Factor VIII clotting activity measurement in patients affected by haemophilia A. Haemophilia. 2019;25:521-526.
Adcock DM, Strandberg K, Shima M, Marlar RA. Advantages, disadvantages and optimization of one-stage and chromogenic factor activity assays in haemophilia A and B. Int J Lab Hematol. 2018;40:621-629.
Rosén S. Assay of factor VIII:C with a chromogenic substrate. Scand J Haematol Suppl. 1984;40:139-45.
Cid AR, Calabuig M, Cortina V, et al. One-stage and chromogenic FVIII:C assay discrepancy in mild haemophilia A and the relationship with the mutation and bleeding phenotype. Haemophilia. 2008;14:1049-54
Akkaya E, Hatiboglu S, Koc B, Genc S, Unuvar A, Karaman S, Omer B, Karakas Z, Zulfikar B. Evaluation of Chromogenic Factor VIII Assay Compared with One-Stage Clotting Assay. Clin Lab. 2020 Oct 1;66(10).
Amiral J, Haubry K, Skrzypczak L, Cornuejols I, Dunois C. ISTH Melbourne: FVIII chromogenic assay and variant method for measuring emicizumab and FVIII inhibitor antibodies in human plasma. [Internet] Hyphen BioMed,NEUVILLE SUR OISE, France;2019.[cited2019July6-10].
Available from: https://www.coachrom.com/fileadmin/news_import/Amiral_et_al._ISTH_2019_FVIII_chromogenic assay_and_variant_method_for_measuring_emicizumab_and_.pdf
Nogami K, Soeda T, Matsumoto T, Kawabe Y, Kitazawa T, Shima M. Routine measurements of factor VIII activity and inhibitor titer in the presence of emicizumab utilizing anti-idiotype monoclonal antibodies. J Thromb Haemost. 2018;16:1383-1390.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.