ผลของการใช้สถานการณ์จำลอง การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงโดยตรงที่หอผู้ป่วยโรคหัวใจเด็ก
คำสำคัญ:
สถานการณ์จำลอง, การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยเด็กขั้นสูงบทคัดย่อ
ความเป็นมา : การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงมีความสำคัญ รูปแบบการใช้สถานการณ์จำลองที่หอผู้ป่วยและทีมผู้ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยเดียวกัน อางช่วยเพิ่มความมั่นใจ ความพร้อมในทีม และลดการสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพรวมถึงความวิตกกังวล
วัดถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบความมั่นใจ การสื่อสาร ความพร้อม และความวิตกกังวลของสหสาขาวิชาชีพก่อนและหลังการใช้สถานการณ์จำลองในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง รวมถึงระยะเวลาในการช่วยฟื้นคืนชีพ
วิธีการศึกษา : ศึกษาวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น (Pre-experimental research design) อาสาสมัคร 30 คน แบ่งเป็น 6 กลุ่มประกอบด้วยแพทย์ พยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล แต่ละกลุ่มจะได้รับการฝึกปฏิบัติ 2 ครั้งห่างกัน 90 วัน ในแต่ละครั้ง ก่อนฝึกปฏิบัติอาสาสมัครจะได้รับการทำแบบทดสอบความรู้ เมื่อ
เข้าร่วมสถานการณ์จำลองโดยตรงที่หอผู้ปวยโรคหัวใจเด็กทั้งหมด 2 ครั้ง ทำแบบสอบถามความมั่นใจก่อนและหลังการใช้สถานการณ์จำลองแต่ละครั้ง และจับเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกัน
ผลการศึกษา : คะแนนเฉลี่ยด้านความมั่นใจ การสื่อสารภายในทีม ความพร้อมในการทำงานเป็นทีมเพิ่มขึ้น และระดับความวิตกกังวลลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านความรู้ก่อนและหลังเรียนไม่มีความแตกต่างกัน เวลาในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพเร็วขึ้นทั้งในกลุ่มแพทย์ พยาบาล และผู้ช่วยพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป : การใช้สถานการณ์จำลองในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงโดยครงที่หอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงาน ช่วยให้เกิดความมั่นใจ การสื่อสารและความพร้อมของบุคคลากรทุกสาขาวิชาชีพมากขึ้น อีกทั้งลดความวิตกกังวลและสามารถปฎิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงได้รวดเร็วขึ้น อาจนำไปใช้ปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของทีมการช่วยฟื้นคืนชีพได้
Downloads
References
Sutton RM, Morgan RW, Kilbaugh TJ, Nadkarni VM, Berg RA. Cardiopulmonary Resuscitation in Pediatric and Cardiac Intensive Care Units. Pediatr Clin North Am. 2017;64:961-72.
Shin TG, Jo IJ, Song HG, Sim MS, Song KJ. Improving survival rate of patients with in-hospital cardiac arrest: five years of experience in a single center in Korea. J Korean Med Sci. 2012;27:146-52.
Anderson R, Sebaldt A, Lin Y, Cheng A. Optimal training frequency for acquisition and retention of high-quality CPR skills: A randomized trial. Resuscitation. 2019;135:153-61.
Figueroa MI, Sepanski R, Goldberg SP, Shah S. Improving teamwork, confidence, and collaboration among members of a pediatric cardiovascular intensive care unit multidisciplinary team using simulationbased team training. Pediatr Cardiol. 2013;34:612-9.
McCoy CE, Rahman A, Rendon JC, et al. Randomized Controlled Trial of Simulation vs. Standard Training for Teaching Medical Students High-quality Cardiopulmonary Resuscitation. West J Emerg Med. 2019;20:15-22.
Demirtas A, Guvenc G, Aslan O, Unver V, Basak T, Kaya C. Effectiveness of simulationbased cardiopulmonary resuscitation training
programs on fourth-year nursing students. Australas Emerg Care. 2020.
Couloures KG, Allen C. Use of Simulation to Improve Cardiopulmonary Resuscitation Performance and Code Team Communication
for Pediatric Residents. MedEdPORTAL. 2017;13:10555.
Warren JN, Luctkar-Flude M, Godfrey C, Lukewich J. A systematic review of the effectiveness of simulation-based education on satisfaction and learning outcomes in nurse practitioner programs. Nurse Educ Today. 2016;46:99-108.
Boling B, editor Use of High-Fidelity Simulation Training for New Cardiothoracic Intensive Care Unit Nurses2016.
Kane J, Pye S, Jones A. Effectiveness of a simulation-based educational program in a pediatric cardiac intensive care unit. J Pediatr Nurs. 2011;26:287-94.
Allan CK, Thiagarajan RR, Beke D, et al. Simulation-based training delivered directly to the pediatric cardiac intensive care unit engenders preparedness, comfort, and decreased anxiety among multidisciplinary resuscitation teams. J Thorac Cardiovasc Surg. 2010;140:646-52
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.