ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะชักที่คุมไม่ได้ในผู้ป่วยเด็ก อายุน้อยกว่า 3 ปี ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ

ผู้แต่ง

  • สุทธิดา ศุภพงศ์ กองกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ
  • ศิริลักษณ์ อัศวบำรุงกุล กองกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ
  • ฐิติพร ฟางสะอาด กองกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ

บทคัดย่อ

ความเป็นมา: โรคลมชัก เป็นความผิดปกติทางระบบประสาทที่รุนแรงโรคหนึ่ง ถ้ามีอาการของโรคลมชักตั้งแต่อายุยังน้อย จะส่งผลต่อพฤติกรรมทางอารมณ์ ทักษะการเข้าสังคม และความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก
วัตถุประกงค์: เพื่อศึกมาปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะชักที่คุมไม่ได้ในผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 3 ปี
วิธีการ: คารศึกษานี้เป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง โดยรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน ผู้เข้าร่วมงานวิจัยเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิฉัยเป็นโรคลมชัก โดยมีอายุช่วง 1 - 36 เดือน ที่รับการรักษาในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ประเทศไทย ระหว่างวันที่ มกราคม 2551 ถึง 30 มิถุนายน 2562 โดยแยกผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ไม่สามารถคุมชักได้และกลุ่มที่คุมชักได้
ผลลัพธ์: จำนวนผู้ป่วยโรคลมชักทั้งหมด 233 ราย 145 ราย ถูกตัดออกจากการศึกษา (19 ราย เป็นชักจากไข้สูง 126 ราย ไม่ใช่โรคลมชัก มีผู้ป่วยทั้งหมด 8 ราย ที่ได้รับการเข้าร่วมในงานวิจัย ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคุมชักได้และกลุ่มที่สามารถคุมชักได้ประกอบด้วย 22 และ 66 คนตามลำดับ จากงานวิจัยนี้ พบผู้ป่วย
เพศชาย 51.14% (45/88) และผู้ป่วยเพศหญิง 48.869 (43/8) โรคลมชักที่ไม่สามารถคุมชักได้ พบว่ามีภาวะพัฒนาการล่าช้าตั้งแต่ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคลมชัก 100% (22/22), มีภาวะแทรกช้อนตอนแรกคลอด 72%(16/22), การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด 189 (4/22), เคยมีประวัติชักจากไข้ 36% (8/22), เคยมีประวัติอาการชักแบบต่อเนื่อง 549 (12/22), รูปแบบการชักเป็นแบบชักทั้งตัว 63% (14/22), ผลของ CT / MRIระบบประสาท ผิดปกติ 81% (18/22), มีภาวะคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ 40% (4/22), มีประวัติโรคลมชักในครอบครัว 4 % (1 /22) ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดกาวะชักที่คุมไม่ได้ที่มีนัยสำคัญทางสถิติ มีด้วยกัน 5 ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ มีภาวะพัฒนาการถ่าช้าตั้งแต่ที่ได้รับการวินิฉัยโรคลมชัก มีภาวะแทรกช้อนตอนแรกคลอดเคยมีประวัติอาการชักแบบต่อเนื่อง รูปแบบการชักเป็นแบบชักทั้งตัว ผลของ CT / MRI ระบบประสาทผิดปกติ เมื่อนำปังจัยเสี่ยงทั้ง s เข้าในแบบการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก พบเพียงปัจจัยเสี่ยงเดียวที่มี
นัยสำคัญทางสถิติ คือรูปแบบการชักเป็นแบบชักทั้งตัว
สรุป: พบผู้ป่วยโรคลมชักที่ไม่สามารถควบคุมชักได้ ในช่งอายุ 1 เดือน ถึง 3 ปี ทั้งหมด 25% โดยปัจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคลมชักที่ไม่สามารถคุมชักได้ ได้แก่ มีพัฒนาการล่าช้าตั้งแต่ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคลมชักมีภาวะขาดออกซิเจนในช่วงแรกคลอด เคยมีประวัติอาการชักต่อเนื่อง รูปแบบการชักเป็นแบบ
ชักทั้งตัวความผิดปกติของโครงสร้างระบบประสาท ที่เจอในผลของ CT/MRI ระบบประสาทที่ผิดปกติ

Downloads

Download data is not yet available.

References

Wirrell E, Wong-Kisiel L, Mandrekar J, Nickels K. Predictors and course of medically intractable epilepsy in young children presenting before 36 months of age: a retrospective,population-based study. Epilepsia. 2012. 53: 1563-9.

Vongkasamchai N, Lertsinudom S, Topark-Ngarm A, Peansukwech U, Sawanyawisuth K, Tiamkao S; Integrated Epilepsy Research Group. Prevalence of Provocative Seizures in Persons with Epilepsy: A Longitudinal Study at Khon Kaen University Hospital, Thailand. Neurol Res Int. 2015;2015: 659189.

Camfield P, Camfield C. Incidence, prevalence and aetiology of seizures and epilepsy in children. Epileptic Disord. 2015. 17: 117-23.

Sirven JI. Epilepsy: A Spectrum Disorder. Cold Spring Harb Perspect Med. 2015 ; 5: a022848.

Fangsaad T, Assawabumrungkul S, Damrongphol P, Desudchit T. Etiology, clinical course and outcome of infant epilepsy: Experience of a tertiary center in Thailand. J Clin Neurosci. 2019; 59:119-123.

Akhondian J, Heydarian F, Jafari SA. Predictive factors of pediatric intractable seizures. Arch Iran Med. 2006. 9: 236-9.

Kirkpatrick M, Dunkley C. Guidelines and Quality Standards in the Care of Children with Epilepsy. Neurol Clin. 2016. 34: 327-37.

Sillanpää M, Shinnar S. Long-term mortality in childhood-onset epilepsy. N Engl J Med. 2010 23;363: 2522-9.

Fisher RS, Cross JH, French JA, et al. Operational classification of seizure types by the International League Against Epilepsy: Position Paper of the ILAE Commission for Classification and Terminology. Epilepsia. 2017. 58: 522-530.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-09-30