ผลการรักษาภาวะขาดสารลดแรงตึงผิว ในปอดทารกคลอดก่อนกำหนด ด้วยวิธี INSURE เทียบกับวิธีเดิม

ผู้แต่ง

  • ปะราลี พันธุ์พิทย์แพทย์ Department of Pediatrics, Udonthani Hospital

คำสำคัญ:

กลุ่มอาการหายใจลำบากในทารกแรกเกิดก่อนกำหนด, สารลดแรงตึงผิว

บทคัดย่อ

ความเป็นมา : การรักษาภาวะหายใจลำบากจากการขาดสารลดแรงตึงผิวในปอด Respiratory distress syndrome (RDS) ให้ surfactant ร่วมกับเครื่องช่วยหายใจ (mechanical ventilator) เป็นเวลานานอาจะมีผลแทรกซื้อนตามมาการใช้วิธี INSURE (Intubation-SURfactant-Extubation) จะช่วยลดภาวะแทรกช้อนต่าง ๆ ได้
วัตถุประสงค์ : ศึกษาเปรียบเทียบการรักษาผู้ป่วย Respiralory distress syndrome (RDS) ด้วย surfactant โดยวิธี NSURE และวิธีตั้งเดิม
วิธีการศึกษา : ทำการศึกษาแบบ retospective study โดยรวบรวมข้อมูลทารกเกิดก่อนกำหนคที่ได้รับการวินิจฉัย Respiatory distress syndrome (RDS) ที่เช้ารับการรักษาใน NICบ โรงพยาบาลอุดรธานี ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560-31 มกราคม 2564 รวมระยะเวลา 3 ปี 5 เดือน ที่ได้รับการรักษาด้วย surtactant ด้วยวิธี INSURE จำนวน 23 รายและวัธี conventional 67 ราย
ผลการศึกษา : ทารกเกิดก่อนกำหนดที่เป็น moderale to severe RDS และได้รับการรักษาด้วย surfactant จำนวน 90 ราย อายุครรค์เฉลี่ย 29gif.latex?\pm3 สัปดาห์ น้ำหนักแรกคลอดเฉลี่ย 1, 253gif.latex?\pm473 กรัม INSURE success ร้อยละ 82.6 การเกิด BPD, VAP, IVH, ระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจและการให้ออกซิเจนน้อยกว่ากลุ่ม CMV อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป : INSURE เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพดีมากในการรักษา RDS ช่วยลดการใช้เครื่องช่วยหายใจระยะยาวผลแทรกช้อนที่ตามมาและอัตราการเสียชีวิตได้

Downloads

Download data is not yet available.

References

วไลพร โรจน์สง่า. ผลของการใช้ surfactant ในทารกแรกเกิดก่อนกำหนดที่เป็น Respiratory distress syndrome ของโรงพยาบาลอุดรธานี. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี. 2561;26: 56-63.

สมชัย นิจพานิช. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกแรกคลอดที่มีภาวะหายใจลำบากในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2548; 20: 254-260.

Maria Livia Ognean, Silvia-Maria Stoicescu. Intubation-Surfactant: Extubation on Continous Positive Pressure Ventilation. Who Are the Best Candidates?. The Journal of Critical Care Medicine 2016; 2: 73-79.

Chung-Ming Chen. Nasal CPAP or INSURE for RDS. Pediatrics and Neonatology 2015: 56,75-76.

อรุณี ประพฤติตรง. ผลลัพธ์ของการให้ surfactant ด้วยวิธี INSURE เทียบกับการให้ surfactant วิธีเดิมในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีปัญหา respiratory distress syndrome. วารสารวิชาการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม. 2563; 4: 177-187.

Stevens TP, Harrington EW, Blennow M, et al. Early surfactant administration with brief ventilation vs. selective surfactant and continued mechanical ventilation for preterm infants with or at risk for respiratory distress syndrome. Cochrane Database Syst Rev. 2007; CD003063.

Fatemeh Sadat Nayeri, Tahereh Esmacilnia Shirvani, Majid Aminnezhad, et al. Comparison of INSURE Method with Conventional Mechanical Ventilation after Surfactant Administration in Preterm Infants with Respiratory Distress Syndrome: Therapeutic Challenge. Acta Medica Iranica.

; 52: 604-608.

Bohlin K, Gudmundsdottir T. Katz-Salamon M, et al. Implementation of surfactant treatment during continuous positive airway pressure. J Perinatol 2007; 27: 422-7.

Danli C, Corsini I, Bertini G, et al. The INSURE method in preterm infants of less than 30 weeks’ gestation. J Matern Fetal Neonatal Med 2010; 23: 1024-9.

Bohlin K, Jonsson B, Gustafsson AS, et al. Continuous positive airway pressure and surfactant. Neonatology 2008; 93: 309-15.

Moretti C, Papoff P. Giannini L, et al. Surfactant and non invasive ventilation. Pediatr Med Chir 2005; 27: 26-9.

Ali Naseh, Batool Ghorbani-Yekta.ไม่INSURE method (INtubation-SURfactant-Extubation) early and late premature neonates with respiratory distress: factors affecting the outcome and survival rate. The Turkish Journal of Pediatrics 2014; 56: 232-237.

Shenan AT, Miligan JE, Hoskins EM. Perinatal factors associated with death or handicap in very preterm infants. Am J Obstet Gynecol 1985; 151: 231-8.

Msall ME, Buck GM, Rogers BT, et al. Multivariate risks among extremely premature infants. J Perinato 1994; 15: 41-7.

Ji Won Koh, MD, Jong-Wan Kim, PhD, et al. Transient intubation for surfactant administration in the treatment of respiratory distress syndrome in extremely premature infants. Korean J Pediatr 2018; 61: 315-321.

Doyle LW, Kitchen WH, Ford GW, Rickards AL, Kelly EA. Antenatal steroid therapy and 5-year outcome of extremely low birthweight infants. Obstet Gynecol 1989; 73:743-6.

สรรธีรา วนสุวรรณกุล. ผลการรักษาของทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่าและเท่ากับ 1,500 กรัมในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์. Journal of Charoenkrung Pracharak Hospital 2007;13.

Rojas-Reyes MX, Morley CJ, Soll R: Prophylactic versus selective use of surfactantin preventing morbidity and mortality in preterm infants. Cochrane Database Syst Rev 2012: CD000510.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-09-30