การประเมินการใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อให้ความรู้ เรื่องโรคอ้วนในเด็กแก่ผู้ปกครองในคลินิกเด็กสุขภาพดี

ผู้แต่ง

  • อลิศา เวชรักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • นัยนา ณีศะนันท์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
  • พัชราภา ทวีกุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • นฤมล เด่นทรัพย์สุนทร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อรภา สุธีโรจนตระกูล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • เรืองวิทย์ ตันติแพทยางกูร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฎเกล้ ้า
  • อรพร ดำรงวงศ์ศิริ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

โรคอ้วนในเด็ก, การป้องกันโรคอ้วนในเด็ก, วีดิทัศน์, คลินิกเด็กสุขภาพดี, การให้ความรู้ผู้ปกครอง

บทคัดย่อ

บทนำ: โรคอ้วนในเด็กเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองที่คลินิกเด็กสุขภาพดีเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคอ้วนในเด็กได้
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินการได้รับความรู้จากการรับชมวีดีทัศน์เรื่องโรคอ้วนในเด็กที่คลินิกเด็กสุขภาพดี
วิธีวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ผู้เข้าร่วมการศึกษาคือผู้ปกครองของเด็กอายุ 4 เดือนถึง 5 ปีที่มารับบริการคลินิกเด็กสุขภาพดีของโรงพยาบาลต่าง ๆ ที่เข้าร่วมโครงการ ผู้เข้าร่วมการศึกษาทำแบบทดสอบเรื่องโรคอ้วนในเด็กจำนวน 19 ข้อ หลังจากนั้นจะให้ผู้เข้าร่วมการศึกษาคูวีดีทัศน์ความรู้เรื่องโรคอ้วน
ในเด้ก และทำแบบทดสอบอีกครั้งเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังดูวีดีทัศน์ (pre-score แถะ post-score) และความแตกต่างของคะแนน (diff-score) รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัย: จากผู้เข้าร่วมการศึกษาจำนวน 167 ราย พบว่า ร้อยละ 63 มีความรู้เรื่องโรคอ้วนในเด็กเพิ่มขึ้นหลังดูวีดิทัศน์ คะแนน post-score ของผู้เข้าร่วมการศึกษาเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับ pre-score อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (15.7士2.4 แถะ 14.0+2.7 คะแนน p<0.00 1) การวิเคราะห์ mulivariate analysisพบว่าระดับการศึกษาของผู้เข้าร่วมการศึกษามีผลต่อคะแนนการทดสอบทั้งหมด ได้แก่ pre-, pOst- และ diff-scorc นอกจากนั้น อายุของผู้เข้าร่วมการศึกษามีความสัมพันธ์เชิงลบกับ diff-score
สรุป: สื่อวีดิทัศน์ที่ใช้ทำให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโรคอ้วนในเด็กมากขึ้น สี่งวีดิทัศน์ควรได้รับการพัฒนาและนำมาใช้จริงเพื่อการป้องกันโรคอ้วนในเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ

Downloads

Download data is not yet available.

References

วิชัย เอกพลากร. บรรณาธิการ. สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 ฉบับสุขภาพเด็ก พ.ศ.2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข;2559

ยูนิเซฟประเทศไทย และสำนักงานสถิติแห่งชาติ.การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2558-59. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ,

de Onis M, Blössner M, Borghi E. Global prevalence and trends of overweight and obesity among preschool children. Am J Clin

Nutr. 2010; 92: 1257-64.

อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ. รายงานผลการประเมินสถานการณ์ความชุกของภาวะอ้วนและพฤติกรรมการให้อาหารในเด็กช่วงอายุ 0-5 ปีที่มารับบริการที่คลินิกเด็กสุขภาพดี.โครงการการพัฒนารูปแบบของคลินิกเด็กสุขภาพดีเพื่อป้องกันโรคอ้วนในเด็ก.2556

สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อาภาวรรณ หนูคง, ณัฐธิรา ไกร มงคล, รุ่งรดี พุฒิเสถียร. การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. วารสารสภาการพยาบาล 2560; 32;120-33.

Lindsay AC, Sussner KM, Kim J, Gortmaker SL. The role of parents in preventing childhood obesity. Future Child. 2006;16:169-86.

Skouteris H, McCabe M, Swinburn B, Newgreen V, Sacher P, Chadwick P. Parental influence and obesity prevention in pre-schoolers: a systematic review of interventions. Obes Rev. 2011; 12:315-28.

อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ, คลินิกเด็กสุขภาพดี: โอกาสสร้างเสริมโภชนาการที่ดีและป้องกันโรคอ้วน. ใน: วิทยา ถิฐาพันธ์, บรรณาธิการ. โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์ และ โรคอ้วนในเด็ก : 2 ขั้วของปัญหาที่ท้าทายวงการสาธารณสุขไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด; 2559. หน้า 64-79.

Punsombut C, Saitong P. The developing 3D animation using storytelling method about good eating habit during early childhood. INFORMATION. 2016; 23 39-47.

WHO Multicentre Growth Reference Study Group. WHO Child Growth Standards: length/height-for-age, weight-for-age, weight-for-length, weight-for-height and body mass index-for-age: methods and development. Geneva; World Health Organization. 2006.

De Lepeleere S, De Bourdeaudhuij I, Cardon G, Verloigne M. The effect of an online video intervention ‘Movie Models’ on specific parenting practices and parental self-efficacy related to children’s physical activity, screen-time and healthy diet: a quasi experimental study. BMC Public Health. 2017;17:366.

Kuroiwa E, Ragar RL, Langlais CS, Baker A, Linnaus ME, Notrica DM. Car seat education: A randomized controlled trial of teaching methods. Injury. 2018;49:1272–77.

Dai YG, Brennan L, Como A, et al. A Video Parent-Training Program for Families of Children with Autism Spectrum Disorder in Albania. Res Autism Spectr Disord. 2018;56:36–49.

House T, Schwebel DC, Mullins SH, , et al. Video intervention changes parent perception of all-terrain vehicle (ATV) safety for children. Inj Prev. 2016;22:328–33.

อรุณี ไรปิ่น, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์. นฤมล ธีระรังสิกุล. ความคิดเห็นและการปฏิบัติของมารดาบุตรวัยก่อนเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2012; 4:1-15.

McCrory C, Leahy S, Ribeiro AI, et al. Maternal educational inequalities in measured body mass index trajectories in three European countries. Paediatr Perinat Epidemiol. 2019;33(3):226–37.

Lazzeri G, Pammoll A, Pilato, V. et al. Relationship between 8/9-yr-old school children BMI, parents’ BMI and educational level: a cross sectional survey. Nutr J. 2011; 10:76.

Lazzeri G, Zani A, Guidoni E, et al. Nutritional surveillance in Tuscany. Relationship between 8–9-y-old school children BMI and parents’ BMI and educational level. J Prev Med Hyg. 2005;46:145-52.

Ruiz-Baqués A, Contreras-Porta J, Marques-Mejías M, et al. Evaluation of an online educational program for parents and caregivers of children with food allergies. J Investig Allergol Clin Immunol. 2018;28:37–41.

Hammersley ML, Okely AD, Batterham MJ, Jones RA. An internet-based childhood obesity prevention program (Time2bHealthy) for parents of preschool-aged children: Randomized controlled trial. J Med Internet Res. 2019;21:e11964.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-09-30