ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในเด็กโรคสมาธิสั้น

ผู้แต่ง

  • นพรัตน์ ศรีขาว โรงพยาบาลสมเด็พระยุพราชเลิงนกทา อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร

คำสำคัญ:

ความชุก, ภาวะซึมเศร้า, ปัจจัยเสี่ยง, เด็กโรคสมาธิสั้น

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในเด็กโรคสมาธิสั่นที่มารับบริการในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง ดำเนินการในคลินิกเด็กโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยใสธร ในเด็กที่ใด้รับการวินิจฉัยป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นโดยเก็บขัอมูลวิจัยในระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ - 30 เมษายน พ.ศ. 2564 จำนวน 147 คน เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามขัอมูลส่วนบุคคลและปัจจัยเสี่ยงของภาวะซึมเศร้าในเด็ก แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็ก Children's Depression Taventory (CDI) ฉบับภาษาไทย และแบบประเมินและคัดกรองพัฒนาการและสุขภาพจิตเด็ก ข้อมูลวิเคราะห์ไดยใช้ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และ
นำเสนออัตราความชุกภาวะซึมเคร้าด้วยสัดด่วนที่พบในกลุ่มตัวอย่าง และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในเด็กโรคสมาธิสั้นด้วยค่า Odd Ratio (95% Contidence Interval)
ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง 5-13 ปี อายุเฉลี่ย 9.03 ปี (ส่วนเบื่ยงเบนมาตรฐาน=1.69)ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 87.5 กำลังศึกษาตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 1 อัตราความชุกภาวะซึมเศร้าในเด็กโรคสมาธิสั้นเป็นสัดส่วน ร้อยละ 03.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในเด็ก
โรคสมาธิสั้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ไม่พอใจผลการเรียนที่ผ่านมา (OR=2.81,95%CI-1.07-7.40)ถูกกดดันจากผู้ปกครองโดยคาดหวังผลการเรียนที่ดี OR=2 63, 9596CI-=1.05-6.ร7) มีปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อน (OR=4.27, 95%CI=1.3-11.87) ถูกเพื่อนแกล้งรังแก (OR=5.14, 95%.CI=2.43-10.84) ถูกทำร้ายร่างกายรุนแรงจิตใจ/ถูกทอดทิ้งโดยบิดามารดาหรือคนเลี้ยง (OR=946, 95%;CI=1.21-74.11) ถูกกดดันจากเพื่อนนักเรียน (OR=3.40, 95%.CI=1. 37-8.40) ซึ่งเด็กโรคสมาธิสั้นมีปัญหาพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง สมาธิสั้นพฤดิกรรมด้านสัมพันธภาพกับเพื่อนค่อนข้างสูง
สรุป: เด็กโรคสมาธิสั้นมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าค่อนข้างสูง ไดยมีปัจจัยที่มีความต้มพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อน ผู้ปกครอง และผลการเรียน เป็นต้น ดังนั้นจึงควรมีระบบเฝ้าระวังเพื่อคัดกรองภาวะซึมเคร้าของเด็กโรคสมาธิสั้นเมื่อมารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข

Downloads

Download data is not yet available.

References

วิฐารณ บุญสิทธิ. โรคสมาธิสั้น: การวินิจฉัยและรักษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2555;57:373-86.

สถาบันราชานุกูล. โรคสมาธิสั้น (ADHD, Attention Deficit Hyperactivity Disorder). In: กรมสุขภาพจิต, editor. กรุงเทพ: สถาบันราชานุกูล; 2561.

Sayal K, Prasad V, Daley D, Ford T, Coghill D. ADHD in children and young people: prevalence, care pathways, and service provision. Lancet Psychiatry. 2018;5:175-86.

ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน, โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ, พรทิพย์ วชิรดิลก, พัชรินทร์ อรุณเรือง, ธันวรุจน์ บูรณสุขสกุล. ความชุกโรคสมาธิสั้นในประเทศไทย วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2556;21:66-75.

Chronis-Tuscano A, Molina BSG, Pelham WE, Applegate B, Dahlke A, Overmyer M, et al. Very early predictors of adolescent depression and suicide attempts in children with Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder. Archives of General Psychiatry. 2010;67:1044-51.

Murphy KR, Barkley RA, Bush T. Young adults with attention deficit hyperactivity disorder: subtype differences in comorbidity, educational, and clinical history. J Nerv Ment Dis. 2002;190:147-57.

Daviss WB. A review of co-morbid depression in pediatric ADHD: etiology, phenomenology, and treatment. J Child Adolesc Psychopharmacol. 2008;18:565-71.

Davidsson M, Hult N, Gillberg C, Särneö C, Gillberg C, Billstedt E. Anxiety and depression in adolescents with ADHD and autism spectrum disorders; correlation between parent- and self-reports and with attention and adaptive functioning. Nord J Psychiatry. 2017;71:614-20.

Biederman J, Ball SW, Monuteaux MC, et al. New insights into the comorbidity between ADHD and major depression in adolescent and young adult females. J Am Acad Child Adolesc Psychiatry. 2008;47:426-34.

Dean AG, Sullivan KM, Soe MM. OpenEpi: Open source epidemiologic statistics for public health, version. 2013 updated 2013/04/06. Available from: www.OpenEpi.com.

อุมาพร ตรังคสมบัติ, ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล. อาการซึมเศร้าในเด็ก: การศึกษาโดยใช้ Children’s Depression Inventories. . วารสารสมาคมจิตแพทย์

แห่งประเทศไทย. 2539;41:221-34.

Woerner W, Nuanmanee S, Becker A, Wongpiromsarn Y, Mongkol A. Normative data and psychometric properties of Thai version of the Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ). J Ment Health Thai. 2011;19:42-57.

ฐิตวี แก้วพรสวรรค์, เบญจพร ตันตสูติ. การศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใน

กรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2555;57:395-402.

ประยูรศรี ศรีจันทร์, พวงเพชร เกษรสมุทร, วารีรัตน์ ถาน้อย. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์. Nursing Science Journal of Thailand. 2563;38:86-98.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-31