อัตราการรอดชีวิตและปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมากในโรงพยาบาลศรีสะเกษ

ผู้แต่ง

  • ขนิษฐา ผิวหอม กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสะเกษ

บทคัดย่อ

ความเป็นมา: ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมากเป็นกลุ่มทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนและอัตราการเสียชีวิตค่อนข้างสูง
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตและปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมาก (VLBW) ในโรงพยาบาลศรีสะเกษ
วิธีการศึกษา: การศึกษาข้อมูลย้อนหลังโดยเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยในและเวชระเบียนที่บันทึกในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 1,500 กรัม ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤต (NICU) โรงพยาบาลศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2563
ผลการศึกษา: จำนวนทารกที่ศึกษา 268 ราย เป็นเพศชาย ร้อยละ 53.4 อายุครรภ์เฉลี่ย 29.1gif.latex?\pm 2.3 สัปดาห์น้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ย 1182.9 gif.latex?\pm 244 กรัม อัตราการรอดชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 1,500กรัม เท่ากับร้อยละ 75.0 (201/268 ) และน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม เท่ากับร้อยละ 35.9 (23/64) โรคร่วม
และภาวะแทรกซ้อนที่พบมากที่สุด คือ respiratory distress syndrome ร้อยละ 79.1 รองลงมาคือ sepsisร้อยละ 72.8 เมื่อวิเคราะห์โดย multivariable logistic regression พบว่าปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมาก ได้แก่ อายุครรภ์น้อยกว่า 27 สัปดาห์ (odds ratio 5.036, P 0.003), น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1,000 กรัม (odds ratio 8.000, P < 0.001), ภาวะ disseminated intravascular coagulation(odds ratio 3.190, P 0.026) และต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง (odds ratio 14.401, P <0.001)
สรุป: อัตราการรอคชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมาก ในการศึกษานี้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกกลุ่มนี้ ได้แก่ อายุครรภ์น้อยกว่า 27 สัปดาห์, น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า1,000 กรัม, ภาวะ disseminated intravascular coagulation และต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง

Downloads

Download data is not yet available.

References

Horbar JD, Carpenter JH, Badger BJ, et al. Mortality and neonatal morbidity among infants 501 to 1500 grams from 2000 to 2009.

Pediatrics 2012;129 : 1019-26.

ประชา นันท์นฤมิต. Improving outcomes of VLBWinfants:Part I. ใน: สันติปุณณะหิตานนท์, บรรณาธิการ.“MinimizingNeonatalMorbidities”.

กรุงเทพฯ :แอคทีฟ พริ้นท์, 2555: หน้า1-21.

ภิญญดา แก้วปลั่ง. อัตราการรอดชีวิตและปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำ หนักน้อยมากในโรงพยาบาลสุรินทร์.วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์บุรีรัมย์2554;26:380-92.

นันทวัลย์ตันติธนวัฒน์. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตทารกแรกเกิดน้ำ หนักน้อยกว่า 2,000 กรัมในโรงพยาบาลแพร่. วารสารกุมารเวชศาสตร์2555;

:296-303.

ปรียานุช ตรงฤทธิชัยการ. การศึกษาผลการรักษาทารกแรกเกิดน้ำ หนักตัวน้อยกว่า 1500 กรัม ในโรงพยาบาลชัยนาท.วารสารกุมารเวชศาสตร์2552;48:123-6.

วรดา มยุระสาคร. การรอดชีวิตและผลการรักษาทารกน้ำ หนักน้อยมากในโรงพยาบาลสมุทรสาคร.วารสารแพทย์เขต 4-52552; 28: 101-10.

Suthida S, Tipvapa S, Paskorn S. Survival and Outcome of Very Low Birth Weight Infants Born in a University Hospital with Level II NICU. J Med Assoc Thai 2007; 90:1323-9.

Carlos G, Agustina G, Jose Z. perinatal factors associated with neonatal mortality in very low birth weight infants: A multicenter

study. Arch Argent Pediatr 2016; 114:426-33.

Lemons JA, Bauer CR, Oh W, et al. Very low birth weight outcomes of the National Institute of Child Health and Human Development Neonatal Research Network, January 1995 through December 1996. Pediatrics 2001; 107 : e1

โสภิดา ตันธวัฒน์. ผลการรักษาทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม ในโรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี2560;25:241-8.

Carlo WA, Ambalavanan N. Respriatory Distress Syndrome (Hyaline Membrane Disease). In: Kliegman RM, Stanton BF. St Geme III JW, Schor NF, Behrman RE. Nelson textbook of Pediatrics. 20th ed. Philadelphia : Elsevier; 2020. p.850-9.

Engle WA. Surfactant-replacement therapy for respiratory distress in the preterm and term neonate. Pediatrics 2008; 121 : 419-32.

Touati A, Achour W, Cherif A, et al. Outbreak of Acinetobacter baumannii in a neonatal intensive care unit: antimicrobial susceptibility and genotyping analysis. Ann Epidemiol 2009; 19 : 372-8

Von Dollinger de Brito D, Oliveira EJ, Abdallah VO, da Costa Darini AL, Filho PP. An outbreak of Acinetobacter baumannii septicemia in a neonatal intensive care unit of university hospital in Brazil. Braz JInfect Dis 2005; 9: 301-9.

วัลภา อุดชาชน. ภาวะเลือดออกในโพรงสมองในทารกเกิดก่อนกำ หนด. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2561; 15: 173-84.

Beaino G, Khoshnood B, Kaminski M, et al. Predictors of cerebral palsy in very preterm infants: the EPIPAGE prospective population-based cohort study. Dev Med Child Neurol 2010; 52: 119-25.

Khanittha S. Incidence and risk factors of retinopathy of prematurity (ROP). วารสารการ แพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์บุรีรัมย์2559;

:99-110.

พรชัยอนันต์ภัทรชัย.อัตราการรอดชีวิตและปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมากในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. วารสารกุมารเวชศาสตร์2553;49:197-204.

Krairirk T. Incidence and Risk factors of Bronchopulmonary dysplasia in Very Low Birth Weight Infants. วารสารกุมารเวชศาสตร์2553;

:192-6.

Hong H, Li XX, Li J, Zhang ZQ. Highflow nasal cannula versus nasal continuous positive airway pressure for respiratory support in preterm infants: a meta-analysis of randomized controlled trials. J Matern Fetal Neonatal Med 2021; 34: 259 -66.

J K Chye, C T Lim. Very low birth weight infants--mortality and predictive risk factors. Singapore Med J 1999; 40: 565-70.

Veldman A, Fischer D, Nold MF, et al. Disseminated intravascular coagulation in term and preterm neonates. Semin Thromb

Hemost 2010; 36 : 419–28.

รุจิภัตต์ สำราญสำ รวจกิจ. การใช้เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง. ใน: รุจิภัตต์สำราญสำรวจกิจ,บรรณาธิการ.Principles and Practice of Pediatric Mechanical Ventilation. กรุงเทพฯ : สร้างสื่อ,2554. หน้า 78-91

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-31