ลักษณะทางคลินิกของภาวะชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหารที่ไม่รุนแรงในเด็ก

ผู้แต่ง

  • ภาพิตร สุวรรณประทีป กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลราชบุรี

คำสำคัญ:

ชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหาร, ลักษณะทางคลินิก, การรักษา

บทคัดย่อ

ความเป็นมา : ภาวะชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหารที่ไม่รุนแรง เป็นภาวะที่พบอาการชักร่วมกับการติดเชื้อที่ทางเดินอาหาร พบมากในแถบเอเชีย เชื่อว่ามีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่มีภาวะนี้แต่ในประเทศไทย ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาถึงลักษณะทางคลินิก การรักษาและผลการรักษาในผู้ป่วยกาวะชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหารที่ไม่รุนแรง
วิธีการศึกษา : การศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนาในผู้ป่วยเด็กอายุตั้งแต่ 1 เดือนถึง 6 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะชักร่วมกับมีการติดเชื้อทางเดินอาหาร หรือได้รับการวินิฉัยว่าเป็น ภาวะชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหารที่ไม่รุนแรง เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลราชบุรี ระหว่าง 1 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลการศึกษา : มีผู้ป่วยเด็กที่มีกาวะชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหารที่ไม่รุนแรงทั้งหมด 25 ราย เป็นชาย 12 ราย (ร้อยละ 48) อายุเฉลี่ย 24.4 gif.latex?\pm 16.93 เดือน ลักษณะการชักที่พบมากที่สุดคือ Gencralized onset (ร้อยละ 92) ค่ามัธยฐานของจำนวนครั้งของการชักคือ2ครั้ง(1-3 ครั้ง สำหรับอาการทางระบบทางเดินอาหารที่พบร่วม คือ ถ่ายเหลวร้อยละ และอาเจียน ร้อยละ 6 เมื่อเปรียบเทียบกลุ่มที่มีอาการชักมากกว่า 1 ครั้งจำนวน 17 ราย(ร้อยละ 69)และกลุ่มที่มีอาการชัก 1 ครั้งจำนวน 8 ราย(ร้อยละ 32 พบว่าทุกรายในกลุ่มที่มีอาการชักมากกว่า 1 ครั้ง มีลักษณะการชักแบบ gencralizcd Onse ซึ่งแดกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
กับกลุ่มที่มีอาการชัก 1 ครั้ง(ร้อยละ 100 และ ร้อยละ 75,p =0.032)สำหรับการรักษาพบว่าผู้ป่วย 14ราย (ร้อยละ 56 ได้รับการรักษาด้วยยากันชักในระยะเฉียบพลัน โดยกลุ่มที่ชักมากกว่า 1 ครั้ง ส่วนใหญ่ 8 ราย (ร้อยละ 47) ได้รับยากันชักด้วย diaz-pam ร่วมกับ phenyoin ไนขณะที่กลุ่มที่มีอาการชัก 1 ครั้ง ได้รับยากันซักเพียง 3 ราย (ร้อยละ 38) เท่านั้น มีผู้ป่วย 20 รายได้รับการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง พบว่า 18 ราย มีผลดรวจปกติ (ร้อยละ 90) และพบความคิดปกติแบบ imeical spikes2 ราย (ร้อยถะ 10 ในการศึกษานี้มีระยะเวลาติดตามรักษา เฉลี่ย 5.68 gif.latex?\pm 5.33 เดือน พบว่าผู้ป่วยทุกรายไม่มีกลับมาชักช้ำเลย
สรุปผลการศึกษา : ภาวะชักที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินอาหารที่ไม่รุนแรงเป็นภาวะที่พบได้ในกุมารเวชปฏิบัติ ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุ 1-2 ปี และชักมากกว่า 1 ครั้ง แต่มีพยากรณ์โรคที่ดี เมื่อติดตามการรักษาพบว่าไม่มีรายใดที่ชักซ้ำ ดังนั้นการเข้าใจถึงสักษณะทางคลินิกเป็นสิ่งสำคัญในการวินิจฉัย เพื่อลดการตรวจ
วินิจฉัยเพิ่มเติมโดยไม่จำเป็น และการใช้ยากันชักต่อเนื่อง แนะนำนัดเพื่อติดตามอาการ

Downloads

Download data is not yet available.

References

Morroka K. Convulsion and mild diarrhea. Shonika. 1982;23:131-7.

Verrotti A, Tocco AM, Coppola GG, Altobelli E, Chiarelli F. Afebrile benign convulsions with mild gastroenteritis: a new entity? Acta

Neurol Scand. 2009;120:73-9.

Castellazzi L, Principi N, Agostoni C, Esposito S. Benign convulsions in children with mild gastroenteritis. Eur J Paediatr Neurol. 2016 Sep;20:690-5.

Ma X, Luan S, Zhao Y, Lv X, Zhang R. Clinical characteristics and follow-up of benign convulsions with mild gastroenteritis among children. Medicine (Baltimore). 2019 Jan;98(2).

Fischer TK, Ashley D, Kerin T et al. Rotavirus antigenemia in patients with acute gastroenteritis. J Infect Dis. 2005

Sep;192:913-9.

Kang B, Kwon Y Se. Benign convulsion with mild gastroenteritis. Korean J Pediatr. 2014;57:304-309.

Khosroshahi N, Rahbarimanesh A, Boroujeni FA, Eskandarizadeh Z, Zoham MH. Afebrile Benign Convulsion Associated With Mild Gastroenteritis: A Cohort Study in a Tertiary Children Hospital. Child Neurol Open. 2018 May 1;5:2329048X18773498.

Ueda H, Tajiri H, Kimura S et al. Clinical characteristics of seizures associated with viral gastroenteritis in children. Epilepsy Res. 2015;109:146-54.

Hu MH, Lin KL, Wu CT, Chen SY, Huang GS. Clinical Characteristics and Risk Factors for Seizures Associated With Norovirus Gastroenteritis in Childhood. J Child Neurol. 2017;32:810-814.

Verrotti A, Nanni a G, Agostinelli S et al. Benign convulsions associated with mild gastroenteritis: A multicenter clinical study. Epilepsy Res. 2011;93:107-114.

You SJ. Older Patients May Have More Frequent Seizures among Children Diagnosed as Benign Convulsions with Mild Gastroenteritis. Neuropediatrics. 2020;51:354-358.

Verrotti A, Moavero R, Vigevano F et al. Long-term follow-up in children with benign convulsions associated with gastroenteritis. Eur J Paediatr Neurol. 2014;18:572–7.

Uemura N, Okumura A, Negoro T, Watanabe K. Clinical features of benign convulsions with mild gastroenteritis. Brain Dev. 2002;24:745-9.

Takami Y, Nakagawa T. Efficacy of phenobarbital for benign convulsions with mild gastroenteritis: A randomized, placebocontrolled trial. Brain Dev. 2019;41:600-603.

Tanabe T, Okumura A, Komatsu M, Kubota T, Nakajima M, Shimakawa S. Clinical trial of minimal treatment for clustering seizures in cases of convulsions with mild gastroenteritis. Brain Dev. 2011;33:120-4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30