อุบัติการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการวินิจฉัยภาวะปฏิริยาภูมิแพ้รุนแรงผิดพลาดในผู้ป่วย

ผู้แต่ง

  • ณฐศศิร์ สุชามาลาวงษ์ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช, สุพรรณบุรี

คำสำคัญ:

ภาวะปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรง, การวินิจฉัย, อาการแสดง, สารก่อภูมิแพ้, เอ, เอพิเนฟรีน

บทคัดย่อ

ความเป็นมา: กาวะปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรง (aaphylaxi) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นเฉียบพลันและรุนแรงถึงแก่ชีวิต ปัจจุบันพบแนวโน้มผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพิ่มขึ้น มีอาการทางคลินิกที่แตกต่างกัน อีกทั้งหากได้รับการวินิฉัยผิดพลาด จะส่งผลให้รับการรักษาที่ไม่หมาะสม ซึ่งอาจเกิดภาวะแทรกช้อนได้
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ ลักษณะทางคลินิก สาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อการวินิจฉัยกาวะปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงผิดพลาดในผู้ป่วยโรงพยาบาล เจ้าพระยายมราช
วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาโดยทบทวนเวชระเบียนย้อนหลังของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยภาวะปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงในโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 จนถึง 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ผลการศึกษา: ผู้ป่วยทั้งหมด 332 ราย วินิจฉัยการะปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรง 350 ครั้ง วินิจฉัยผิดพลาด 137 ครั้ง (ร้อยละ 39.1) ส่วนใหญ่เป็นการวินิจฉัยเกิน 110 ครั้ง (ร้อยละ 80) พบในผู้ป่วยเด็ก (ร้อยละ 41.8) อุบัติการณ์การเกิด คือ ร้อยละ 0.19 เป็นเพศชาย 182 ราย (ร้อยละ 52) อายุเฉลี่ย 245 ปี ส่วนมากแสดงอาการทางระบบผิวหนังและเยื่อบุทั้งในกลุ่มผู้ป่วยเด็กและผู้ใหญ่ (ร้อยละ 97.1, 92.2) สาเหตุเกิดจากการแพ้อาหารมากที่สุด (ร้อยละ 55.2. 56.7) ปัจชัยที่มีผลต่อการวินิจฉัยผิดพลาด ได้แก่ อาการแสดงระบบผิวหนัง (3OR, 0.07: 9S%CI= 0.02-0.233 P=0.01) อาการแสดงในระบบทางเดินหายใจ (:OR, 0.04: 95%CI= 0.02-0.09: P-0.00 1) อาการแสดงระบบทางเดินอาหาร aOR, 0.09 95% CI, 0.05 -0.18; P<0.00 1) ไม่ทราบสารก่อภูมิแพ้ (AOR, 8.6 95% CI, 1.2-65.1:P-0.04) การวินิงฉัยที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอก (3OR, 10.7: 95% CI., 1.1 -103.4: P=0.04) ส่วนการวินิฉัยเกินเป็นการวินิฉัยโดยกุมารแพทย์ (3OR,5.83 95% CI, 1.04-31.9; P=0.04) ในกลุ่มผู้ป่วยเด็กพบอาการแสดงระบบทางเดินหายใจ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการวินิจฉัย (2OR, 0.05: 95% CI, 0.01-0.19;P<0.001) และผู้ป่วย
ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วยยาเอพิเนฟรีนร้อยละ 90.6 พบผู้ป่วยมีการกลับเป็นช้ำ44 ราย (ร้อยละ 12.6)
สรุป : อุบัติการณ์ของภาวะปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชพบใกล้เคียงกับโรงพยาบาลอื่น พบมากในกลุ่มผู้ใหญ่ตอนต้น การวินิจฉัยผิดพลาดส่วนใหญ่เป็นการวินิจฉัยเกิน ปัจจัยที่มีผลต่อการวินิจฉัย คือ อาการแสดงทางคลินิก การไม่ทราบสารก่อภูมิแพ้ แพทย์และสถานที่วินิจฉัยโดยการรักษาและระบบการตรวจติคตามไม่เหมาะสม ดังนั้นควรจัดทำเนวทางการวินิจฉัย การรักษาและระบบตรวจติดตามที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคซ้ำ

Downloads

Download data is not yet available.

References

Sampson HA, Muñoz-Furlong A, Campbell RL, Adkinson Jr NF, Bock SA, Branum A, et al. Second symposium on the definition and management of anaphylaxis: summary report—Second National Institute of Allergy and Infectious Disease/Food Allergy and Anaphylaxis Network symposium. Journal of Allergy and Clinical Immunology 2006;117:391-7.

Cardona V, Ansotegui IJ, Ebisawa M, El-Gamal Y, Rivas MF, Fineman S, et al. World allergy organization anaphylaxis guidance 2020. World Allergy Organization Journal 2020;13:100472.

Lieberman P, Nicklas RA, Randolph C, Oppenheimer J, Bernstein D, Bernstein J, et al. Anaphylaxis—a practice parameter update 2015. Annals of Allergy, Asthma & Immunology 2015;115:341-84.

Thatphet P, Ienghong K, Gaysonsiri D, Apiratwarakul K, Ruttanaseeha W. Anaphylaxis in Emergency room Srinagarind Hospital: A 5-Years Retrospective Study. Srinagarind Medical Journal 2017;32:534-41.

Tearprasert L. MIsdiagnosis of Anaphylaxis in children in Buriram hospital. Siriraj Medical Bulletin 2021;14:24-32.

Rangkakulnuwat P, Sutham K, Lao-Araya M. Anaphylaxis: ten-year retrospective study from a tertiary-care hospital in Asia. Asian Pacific journal of allergy and immunology 2020;38:31-9.

Manuyakorn W, Benjaponpitak S, Kamchaisatian W, Vilaiyuk S, Sasisakulporn C, Jotikasthira W. Pediatric anaphylaxis: triggers, clinical features, and treatment in a tertiary-care hospital. Asian Pac J Allergy Immunol 2015;33:281-8.

Kowjiriyapan Y.Clinical features of anaphylaxis in the Emergency medicine department of Chianrai Prachanukroh Hospital. Chiangrai Medical Journal 2017;9:29-39.

Simons FER, Ebisawa M, Sanchez-Borges M, Thong BY, Worm M, Tanno LK, et al. 2015 update of the evidence base: World Allergy Organization anaphylaxis guidelines. World Allergy Organization Journal 2015;8:32.

คณะทำงานเพื่อการรักษาและป้องกันการแพ้ชนิดรุนแรงแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้ป่วยที่มีการแพ้ชนิดรุนแรงพ.ศ.2560.2560:1-34.

Techapornroong M, Akrawinthawong K, Cheungpasitporn W, Ruxrungtham K. Anaphylaxis: a ten years inpatient retrospective study. Asian Pac J Allergy Immunol 2010;28:262-9.

Shaker MS, Wallace DV, Golden DB, Oppenheimer J, Bernstein JA, Campbell RL, et al. Anaphylaxis—a 2020 practice parameter update, systematic review, and Grading of Recommendations, Assessment, Development and Evaluation (GRADE) analysis. Journal of Allergy and Clinical Immunology 2020;145:1082-123.

Turner PJ, Campbell DE, Motosue MS, Campbell RL. Global trends in anaphylaxis epidemiology and clinical implications. The Journal of Allergy and Clinical Immunology: In Practice 2020;8:1169-76.

Jirapongsananuruk O, Bunsawansong W, Piyaphanee N, Visitsunthorn N, Thongngarm T, Vichyanond P. Features of patients with

anaphylaxis admitted to a university hospital. Annals of Allergy, Asthma & Immunology 2007;98:157-62.

Grabenhenrich LB, Dölle S, Moneret-Vautrin A, Köhli A, Lange L, Spindler T, et al. Anaphylaxis in children and adolescents: the European Anaphylaxis Registry. Journal of allergy and clinical immunology 2016;137:1128-37.. e1

Piromrat K, Chinratanapisit S, Trathong S. Anaphylaxis in an emergency depart-ment: a 2-year study in a tertiary-care hospital. Asian

Pacific Journal of Allergy and Immunology 2008;26:121.

Uppala R, Phungoen P, Mairiang D, Chaiyarit J, Techasatian L. Pediatric Anaphylaxis: Etiology and Predictive Factors in an Emergency Setting. Global Pediatric Health. 2021 Apr;8:2333794X211011301.

Sclar DA, Lieberman PL. Anaphylaxis: underdiagnosed, underreported, and undertreated. The American journal of

medicine 2014;127:S1-S5.

Sicherer SH, Simons FE. Epinephrine for first-aid management of anaphylaxis. Pediatrics. 2017 Mar 1;139(3).

Turner PJ, Campbell DE, Motosue MS, Campbell RL. Global trends in anaphylaxis epidemiology and clinical implications. The Journal of Allergy and Clinical Immunology: In Practice 2020;8:1169-76.

R a t a n a p r u g C , S r i s u w a t c h a r i W, Jirapongsananuruk O, Visitsunthorn N, Pacharn P. Carrying rates of epinephrine devices in children with food-induced anaphylaxis. Asia Pacific Allergy. 2019 Apr;9(2)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30