ภาวะ FPIES ในทารกที่มาด้วยอาการถ่ายเหลวเรื้อรัง

ผู้แต่ง

  • ศุภมาศ หรินทจินดา สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • ณัฐชนัญ กลางกัลยา สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • วัชรุตม์ กันจงกิตติพร สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • พรเทพ ตั่นเผ่าพงษ์ สาขาวิชาโรคทางเดินอาาหรและตับ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • วิภารัตน์ มนุญากร สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

Food allergy, food challenge, enterocolitis

บทคัดย่อ

ภาวะ Food protein-induced enterocolitis syndrome (FPIES) เป็นภาวะแพ้อาหารแบบ Non-IgE mediatedที่วินิจฉัยจากอาการและประวัติของผู้ป่วยเป็นหลัก ไม่มีอาการหรือการทดสอบจำเพาะ โดยมีเกณท์การวินิจฉัยหลักคือ อาการอาเจียนภายใน 1 - 4 ชั่วโมงหลังกินอาหารที่สงสัย อาการเป็นซ้ำ ๆ ทุกครั้ง
ที่ได้อาหารชนิดนี้ มีอาการขาดน้ำรุนแรง โดยอาจพบอาการถ่ายเหลวร่วมด้วย รายงานนี้เป็นการรายงานผู้ป่วยทารก อายุ 16 วันที่มีอาการท้องเสียเรื้อรัง โดยไม่มีอาการอาเจียน ซึ่งไม่เข้ากับเกณซ์การวินิจฉัย Acute PPIES ทารกได้รับการรักษาด้วยการได้รับยาปฏิชีวนะและงคนมวัว หลังการงดนมวัวครบ 6 เดือน
รับการทดสอบโดยการให้รับประทานนมวัว พบว่าอาการเข้าได้กับเกณฑ์การวินิจฉัย FPIES แสดงให้เห็นถึงการตระหนักว่าอาการท้องเสียเรื้อรังอาจเป็นอาการแสดงนำอย่างเดียวของทารกที่แพ้อาหารที่มีอาการแสดงกลุ่ม FPIES

Downloads

Download data is not yet available.

References

Ullberg J, Bormann M F, Fagerberg U L (2021) Clinical presentation and management of food protein-induced enterocolitis syndrome

in 113 Swedish children: J Allergy Clin Immunol 2021;76:2115-2122

Mehr s, Frith K, Barnes E, et al. Food protein-induced enterocolitis syndrome in Australia: A population-based study, 2012 - 2014(2017): J Allergy Clin Immunol2017;140:1323-1330.

Leonard S, Pecora V, Fiocchi A, et al. Food Protein-Induced enterocolitis Syndrome: A review of the new guidelines. World Allergy

Organization Journal 2018 11:4.

Michelet M, Schluckebier D, Petit L M, et al. Food protein-induced enterocolitis syndrome – a reviw of literature with focus on clinical

management. Journal of Asthma and Allergy2017:10:197-207.

Weinberger T, Feuille E, Thomson C, NowakWegrzyn A, Chronic food protein-induced enterocolitis syndrome: characterization of clinical phenotype and literature review. Ann Allergy Asthma Immunol 2016;117:227-33

Nowak-Wegrzyn A, Chehade M, Groetch ME et al (2017), International consensus guidelines for the diagnosis and management of food protein-induced enterocolitis syndrome: executive summary-working group report of the Adverse Reactions to Foods Committee, American academy of Allergy, Asthma & Immunology. J Allergy Clin Immunol 139:1111-1126 e4.

Nowak-Wegrzyn A, Berin C, Mehr S (2020) Food Protein-Induced Enterocolitis Syndrome: J Allergy Clin Immunol Pract2020;Vol8, number 1:20-35.

Agyemang A, Nowak-Wegrzyn A (2019) Food Protein-Induced Enterocolitis Syndrome: a Comprehensive Review. Clinic

Rev Allerg Immunol (2019) 57:261-271.

Nowak-Wegrzyn A (2015). Food ProteinInduced Enterocolitis Syndrome and Allergic Proctocolitis. Allergy Asthma Proc. 2015; 36(3): 172-184

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30

Similar Articles

You may also start an advanced similarity search for this article.