การวินิจฉัยลำไส้กลืนกันในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการแพ้ไข่

ผู้แต่ง

  • กาญจนา ชยุติมาพันธ สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • ณัฐชนัญ กลางกัลยา สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • วัชรุตม์ กันจงกิตติพร สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
  • นิชนันท์ เรืองวัฒนไพศาล ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • วิภารัตน์ มนุญากร สาขาวิชาโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดย่อ

อาการอาเจียน ถ่ายเหลว เป็นอาการแสดงของระบบทางเดินอาหาร ที่พบได้บ่อยในเด็กเล็ก ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยอาการอาเจียน และถ่ายเหลวอาจเป็นอาการของการแพ้อาหารเป็นอาการแสดงกลุ่มอาการเดียว เช่น ผู้ป่วยแพ้อาหารแบบ Food protein induced enterocolitis syndromes โดยผู้ป่วยจะมีอาการ
อาเจียนหลังรับประทานอาหาร 1 -4 ชั่วโมง และมีอาการท้องเสียตามมา อย่างไรก็ตามยังจำเป็นต้องวินิจฉัยแยกโรคสาเหตุทางศัลยกรรมที่มีอาการคล้ายกัน เช่น ภาวะลำไส้กลืนกัน รายงานฉบับนี้แสดงผู้ป่วยทารกที่มาด้วยอาการผื่นลมพิษและอาเจียนต่อเนื่องหลังทานไข่ 4 ชั่วโมง และได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นว่าแพ้ไข่ แบบ Food protein induced enterocolitis syndromes หลังการรักษาอาการไม่ดีขึ้น การสืบค้นเพิ่มเติมพบว่าผู้ป่วยมีลำไส้กลืนกันร่วมด้วย

Downloads

Download data is not yet available.

References

Boyce JA, Assa’ad A, Burks AW, et al. Guidelines for the diagnosis and management of food allergy in the United States: report of the NIAID-sponsored expert panel. J Allergy Clin Immunol 2010; 126(6 Suppl): S1-58.

Nowak-Węgrzyn A, Chehade M, Groetch ME, et al. International consensus guidelines for the diagnosis and management of food

protein-induced enterocolitis syndrome: Executive summary-Workgroup Report of the Adverse Reactions to Foods Committee, American Academy of Allergy, Asthma & Immunology. J Allergy Clin Immunol 2017; 139: 1111-26.e4.

Huppertz HI, Soriano-Gabarró M, Grimprel E, et al. Intussusception among young children in Europe. Pediatr Infect Dis J 2006; 25(1 Suppl): S22-9.

Aydın E, Beşer Ö F. Food Allergy: A Rare Cause of Recurrent Intussusception. APSP J Case Rep 2017; 8: 2.

Takeuchi M, Oda Y, Suzuki I. Intussusception secondary to anaphylactic reaction to salmon roe (ikura). Pediatr Int 2013; 55: 649-51.

Aydin E, Beşer OF, Ozek E, Sazak S, Duras E. Is There a Causal Relationship between Intussusception and Food Allergy? Children (Basel) 2017; 4(10).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30