อุบัติการณ์การเกิดโรคปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในทารกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อยที่ตรวจพบเชื้อในเสมหะจากท่อช่วยหายใจ

ผู้แต่ง

  • ปภาวี เล็กสกุลดิลก กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
  • จินตนา อินต๊ะชุมภ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
  • ปรารถนา อุนจะนำ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

คำสำคัญ:

ventilator-associated pneumonia, positive tracheal aspirate culture, preterm

บทคัดย่อ

ความเป็นมา: โรคปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Venilator-associated pneumonia, VAP) พบได้บ่อยเป็นอันดับสองของโรคติดเชื้อในผู้ป่วยเด็กและทารกแรกเกิดระยะวิกฤต ปัจจุบันยังไม่มีเกณซ์มาตรฐาน (Oold standard) ในการวินิจฉัยและรักษา VAP ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ผู้ป่วยที่สงสัยว่า
เป็น VAP มักได้รับยาต้านจุลชีพ เมื่อตรวจพบว่ามีเชื้อในเสมหะจากท่อช่วยหายใจ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอุบัติการณ์การเกิด VAP ความสมเหตุสมผลของการวินิจฉัย VAP และความชุกของเชื้อในเสมหะจากท่อช่วยหายใจ ในทารกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย ที่ตรวจพบเชื้อในเสมนะจากท่อช่วยหายใจ
รูปแบบการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง (Cross-sectional descriptive study) ในทารกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม ที่ใด้รับการรักษาในหอสู้ป่วยทารกแรกเกิดระยะวิกฤต โรงพยาบาลเชียงรายประชานุคราะห์ และตรวจพบเชื้อในเสมหะจากท่อช่วยหายใจ ระหว่าง
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2564 โดขอ้งอิงเกณฑ์การวินิฉัย Clinically deined pneumonia ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งอ้างอิงตามเกณท์ CDC: Criteria for defining nosocomial pneumonia for infants sl ycar old ของสหรัฐอเมริกา
ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยที่พบเชื้อในเสมหะจากท่อช่วยหายใจ ทั้งหมดจำนวน 65 ครั้ง เหตุการณ์ เป็นเพศชายร้อยละ 44.6 มีอายุครรภ์เฉลี่ย 28 สัปดาห์ (SD gif.latex?\pm 1.8) มีน้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ย 962.8 กรัม (SD + 207. 4) พบอุบัติการณ์การเกิด VAP ตามเกณท์ของกรมควบคุมโรก (contimed VAP)
37 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 56.9 และไม่เป็น VAP 28 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 43.1โดยมีระยะเวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจ 13.1 วัน (SD gif.latex?\pm6.8) ก่อนเกิด VAP และพบการวินิจฉัย VAP ที่ไม่ตรงตามเกฑณ์ของกรมควบคุมโรค (non-contimed VAP) 9 ครั้ง ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 13.8 ประเมินความแม่นยำในการวินิจฉัยโรคกิดเป็น
คำทำนายผลบวกเท่กับรัอยละ 80.4 เชื้อที่พบเป็นสาเหตุของ VAP มากที่สุดอ Acinciobacter batumamni (MDR) คิดเป็นร้อยละ 46 รองลงมาคือ Pscudomonas acr acruginosa คิดเป็นร้อยละ 32.4
สรุป: ในทารกเกิดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย ที่ตรวจพบเชื้อในเสมหะจากท่อช่วยหายใจ พบอุบัติการณ์การเกิด VAP ตรงตามเกณฑ์ของกรมควบคุมโรค ร้อยละ 56.9 (37 จาก 65 ครั้ง) ไม่เป็น VAP ร้อยละ 43.1 (28 จาก 65 ครั้ง) และมีการวินิจฉัย VAP ที่ไม่ตรงตามเกณท์ของกรมควบคุมโรค ร้อยละ 13.8(9 จาก
65 ครั้ง) โดยเชื้อที่พบเป็นสาเหตุของ VAP มากที่สุดคื Acinctobactcr baumannii (MDR)

Downloads

Download data is not yet available.

References

Center for Disease Control and Prevention. Pneumonia (Ve ntilat o r -a s s ociate d [VAP] and non-ventilator-associated Pneumonia [PNEU]) Event [Internet]. 2020. [cited 25 August 2020). Available from https://www.cdc.gov/nhsn/PDFs/pscManual/6pscVAPcurrent.pdf

Gaynes RP, Edwards JR, Jarvis WR et al. Nosocomial infections among neonates in high-risk nurseries in the United States. National Nosocomial Infection Surveillance System. Pediatrics 1996; 98:357-61.

National Nosocomial Infections Surveillance System. National Nosocomial Infections Surveillance (NNIS) System report, data

summary from January 1992 through June 2004. Am J Infect Control 2004; 32:470-85.

Apisarnthanarak A, Holzmann-Pazgal G, Hamvas A et al. Ventilator-associated pneumonia in extremely preterm neonatesin

a neonatal intensive care unit: characteristics, risk factors, and outcomes. Pediatrics(2003)112:1283–9.

Xu XF, Ma XL, Chen Z, Shi LPet al. Clinical characteristics of nosocomial infections in neonatal intensive care unit in eastern China.

J Perinat Med 2010; 38:431–437.

ปรารถนา อุนจะนำ . (2015). โรคปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในทารกแรกเกิดในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดระยะวิกฤติโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์. เชียงรายเวชสาร, 7(2),37-47.

คู่มือวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล: สถาบันบำราศนราดูรกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข,2561: หน้า 21-32.

Colleen C Claassen, William J Keenan. Challenging the “Culture” of the Tracheal Aspirate. Neoreviews. 2019 Mar;20(3):e145-e151.

Cantey JB, Patel SJ. Antimicrobial stewardship in the NICU. Infect Dis Clin North Am. (2014) 28:247–61.

Goerens A, Lehnick D, Büttcher M et al. Neonatal Ventilator-associated Pneumonia: A Quality Improvement Initiative Focusing on Antimicrobial Stewardship. Front. Pediatr. 2018 Sep; 6:262

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-30