การรังแกในเด็กและวัยรุ่น

ผู้แต่ง

  • จริยา ทะรักษา Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • วีระศักดิ์ ชลไชยะ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • สุธาทิพย์ อมเปรมศิลป์ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • บุญยิ่ง มานะบริบูรณ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • จิราภรณ์ อรุณากูร Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • เขมิกา สุดนาวา Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • ลีลารพิน จงวัฒนสวัสดิ์ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • กรมิกา วินิจกุล Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • ศศิธร จันทรทิณ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • พนม เกตุมาน Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand
  • วินัดดา ปิยะศิลป์ Subcommiteeon management of bullying, The Royal College ofPediatricians of Thailand

คำสำคัญ:

การรังแก, ผู้รังแก, ผู้ถูกรังแก, ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ผู้ถูกรังแก, โรงเรียน

บทคัดย่อ

การรังแกในเด็กและวัยรุ่นเป็นปัญหาที่รุนแรงและพบบ่อยในประเทศไทย การรังแกมีหลายรูปแบบด้วยกัน ได้แก่ การรังแกทางร่างกาย ทางวาจา ทางสังคม และการรังแกในโลกไซเบอร์ การศึกษาของประเทศต่างๆทั่วโลกพบว่าปัญหาการรังแกกันในโรงเรียนมีความชุกสูงสุดอยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น นอกจากนี้ยังมี
แนวโน้มที่จะพบปัญหาการรังแกได้บ่อยขึ้นในเด็กที่อายุน้อยลงโดยเฉพาะในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาและพบว่าทั้งผู้รังแก ผู้ถูกรังแก และผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์การรังแกมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดปัญหาทางด้านร่างกายอารมณ์ สังคม และการเรียน ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจรุนแรงมากจนทำให้เสียชีวิตได้ จากการศึกษาโดยการทบทวนข้อมูลอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์แบบอภิมานพบว่าการป้องกันและแก้ไขปัญหาการรังแกกันโดยการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยจะต้องแก้ไขปัญหาให้ครอบคลุมทุกระดับทั้งในระดับรายบุคคล ชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน ดังนั้น กุมารแพทย์จึงมีบทบาท
สำคัญในการตรวจประเมินเพื่อค้นหาเด็กที่มีความเสี่ยง กัดกรองโรคทางจิตเวช ให้คำปรึกษาแก่เด็กและครอบครัว และให้การสนับสนุนโรงเรียนในการป้องกันปัญหาการรังแกกัน

Downloads

Download data is not yet available.

References

Glew G, Rivara F, Feudtner C. Bullying: children hurting children. Pediatr Rev. 2000;21:183-9.

Shetgiri R. Bullying and victimization among children. Adv Pediatr. 2013;60(1):33-51.

ชุตินาถ ศักรินทร์กุล, อลิสา วัชรสินธุ. ความชุกของการข่มเหงรังแกและปัจจัยด้านจิตสังคมที่เกี่ยวข้องในเด็กมัธยมต้น เขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2557;59:221-230.

ศุภรดา ชุมพาล, ทัศนา ทวีคูณ. พฤติกรรมรังแกกันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของจังหวัดหนึ่งในภาคกลางประเทศไทย.วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต.2019;33:128-48.

Juvonen J, Graham S. Bullying in schools: the power of bullies and the plight of victims. Annu Rev Psychol. 2014;65:159-85.

Rettew DC, Pawlowski S. Bullying. Child Adolesc Psychiatr Clin N Am. 2016;25:235-42.

Copeland WE, Wolke D, Angold A, Costello EJ. Adult psychiatric outcomes of bullying and being bullied by peers in childhood and adolescence. JAMA psychiatry. 2013;70:419-26.

Dobry Y, Braquehais MD, Sher L. Bullying, psychiatric pathology and suicidal behavior. Int J Adolesc Med Health. 2013;25(3):295-9.

Wolke D, Copeland WE, Angold A, Costello EJ. Impact of bullying in childhood on adult health, wealth, crime, and social outcomes. Psychol. Sci. 2013;24:1958-70.

Kelly EV, Newton NC, Stapinski LA, Slade T, Barrett EL, Conrod PJ, et al. Suicidality, internalizing problems and externalizing problems among adolescent bullies, victims and bully-victims. Prev Med. 2015;73:100-5.

Gini G, Pozzoli T. Bullied children and psychosomatic problems: a meta-analysis. Pediatrics. 2013;132:720-9.

van Geel M, Goemans A, Vedder PH. The relation between peer victimization and sleeping problems: A meta-analysis. Sleep Med Rev. 2016;27:89-95.

Wolke D, Lereya ST. Long-term effects of bullying. Arch Dis Child. 2015;100(9):879-85.

Evans CBR, Smokowski PR, Rose RA, Mercado MC, Marshall KJ. Cumulative Bullying Experiences, Adolescent Behavioral and Mental Health, and Academic Achievement: An Integrative Model of Perpetration, Victimization, and Bystander Behavior. J Child Fam Stud. 2018;28:2415-28.

เมธินีสุวรรณกิจ. มาตราการทางกฎหมายในการคุ้มครองเด็กและเยาวชนจากการถูกกลั่นแกล้งในสังคมออนไลน์. วารสารนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร.2560;10:49-70.

พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2558 (22พฤศจิกายน2553),ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม127 ตอนที่72ก, หน้า12.

Ilola AM, Lempinen L, Huttunen J, Sourander A. Bullying and victimisation are common in four-year-old children and are associated with somatic symptoms and conduct and peer problems. Acta Paediatrica. 2016;105:522-8.

Lyznicki JM, Mccaffree MA, Robinowitz CB. Childhood bullying: implications for physicians. Am Fam Physician. 2004;70:1723-8.

American Academy of Pediatrics. Committee on Injury, Violence and Poison Prevention. Policy statement-role of pediatrician in youth violence prevention. Pediatrics. 2009;124:393-402.

Stephens MM, Cook-Fasano HT, Sibbaluca K. Childhood bullying: implications for physicians. Am Fam Physician. 2018;97:187-92.

American Academy of Pediatrics. The Connected Kids: Safe, Strong, Secure Program. Bullying: Is not OK [Internet]. 2020 [cited 12 April 2020]. Available from: https://patiented.solutions.aap.org/handout.aspx?gbosid=166241

สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์,กรมสุขภาพจิต,กระทรวงสาธารณสุข.คู่มือการปฎิบัติสำหรับการดำ เนินการป้องกันและการจัดการการรังแกกันในโรงเรียน.กรุงเทพฯ:บริษัทบียอนด์พับลิสซิ่งจำกัด,2561.

Milsom A, Gallo LL. Bullying in Middle Schools: Prevention and Intervention. Middle School Journal. 2006;37:12-9.

Carr-Gregg M, Manocha R. Bullying - effects, prevalence and strategies for detection. Aust Fam Physician. 2011;40:98-102.

Ttofi MM, Farrington DP. Effectiveness of school-based programs to reduce bullying: a systemic and meta-analytic review. J Exp Criminol. 2011;7:27-56

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30

How to Cite

ทะรักษา จ., ชลไชยะ ว. ., สุจริตพงศ์ ส. ., อมเปรมศิลป์ ส. ., มานะบริบูรณ บ. ., อรุณากูร จ., สุดนาวา เ., จงวัฒนสวัสดิ์ ล. ., วินิจกุล ก. ., จันทรทิณ ศ. ., ภาวสุทธิไพศิฐ โ. ., เกตุมาน พ. ., & ปิยะศิลป์ ว. . (2021). การรังแกในเด็กและวัยรุ่น. วารสารกุมารเวชศาสตร์, 60(2), 110–117. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/TJP/article/view/1206