ความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติของคนไทย ที่มีต่อวัคซีนโควิด-19 ที่ช่วงเวลาก่อนการระบาด และกำลังระบาดระลอกที่ 3
คำสำคัญ:
โควิด, วัคซีน, โควิด-19, ความรู้, ทัศนคติ, การยอมรับบทคัดย่อ
การระบาดของไวรัสโควิด-19 มีผลต่อประชากรทั่วโลกทั้งทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมวัคซีนเป็นทางออกที่จะยุติการระบาดของโรค การศึกษานี้เป็นการศึกษาถึงความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับของวัคซึนโควิด-19 ที่มีการขึ้นทะเบียนในประเทศไทย โดยทำการศึกษาแบบตัขวางให้ประชากรไทย
ตอบแบบสอบถามในสองช่วงเวลาคือ วันที่ 3-22 เมษายน และ 26 พฤษภาคม ถึง 14 มิถุนายน 2564โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามในครั้งแรกจำนวน 2,866 คน ครั้งที่ 2 จำนวน 2513 คน เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป โดยส่วนมากมีอายุระหว่าง 26-60 ปี ผู้ตอบแบบสอบถามครั้งแรกและครั้งที่ 2 มี สถานที่อยู่ โรคประจำตัว อาชีพ และวุฒิการศึกษาใกล้เคียงกัน ผู้ตอบแบบสอบถามในครั้งที่ 1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน Sinovac (CoronaVac) มากที่สุด รองลงมาคือวัคซีนAstraZencca และวัคซีน Jonson & Johson ตามลำดับ (79%, 57%. และ 54% ตามลำดับ) เมื่อเทียบกับครั้งที่ 2 ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน Sinovac (CoronaVae) เพิ่มขึ้นถึง91%. AstraZeneca 75.3% และ Johson & Joimson 68.3% แสดงให้เห็นว่าคะแนนเฉลี่ยมีอัตราเพิ่มขึ้นเพราะอยู่ในช่วงรณรงค์การฉีดวัดซีน ในแบบสอบถามครั้งที่ 2 มีการขึ้นทะเบียนวัคชีนเพิ่มขึ้น จึงมีคำถามเกี่ยวกับวัคซีน Modema และ Sinopharm (84.9%) มากกว่า Moderna (68.5%) ประชากรอาสาสมัครมีความรู้และเข้าใจวัคซีน Sinopham วัคซีนร้อยละ 849 และ Moderna ร้อยละ 68.5
ความยอมรับในการฉีควัคซึนในประชากรไทยอยู่ในอัตราสูงถึงแม้แต่ในแบบทดสอบครั้งแรกมีความต้องการที่จะฉีดวัคซีนถึงร้อยละ 85 4 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 94 ในช่วงระยะเวลาที่ 2 ที่เป็นช่วงที่มีการรณรงค์การฉีดวัคซึนป้องกันโควิด-19 การศึกษาความรู้ ทัศนคติและความยอมรับในการฉีดวัคซึน จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในเชิงนโยบายที่จะทำให้แผนการให้วัคขืนในประเทศไทยประสบผลสำเร็จ
Downloads
References
Li Q, Guan XH, Wu P, Wang XY, Zhou L, Tong YQ, et al. Early Transmission Dynamics in Wuhan, China, of Novel Coronavirus-Infected Pneumonia. New Engl J Med. 2020;382(13):1199-207
Johns Hopkins University Center for Systems Science and Engineering. (JHUCCSE). (2021). จำนวนผู้ป่วยในไทย, [เข้าถึงเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://github.com/CSSEGISandData/COVID-19
ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 – กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.). สถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย,[เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก. https://www.moicovid.com/22/07/2021/uncategorized/4090/
สำนักงานสถิติแห่งชาติ(สสช) (2564). รวม 5 ผลกระทบโควิด-19 ในปี 2020, [เข้าถึงเมื่อวันที่ 27มิถุนายน 2564]. เข้าถึงได้จาก. http://www.nso.
go.th/sites/2014
WH O . C o r o n a v i r u s d i s e a s e 2 0 1 9(COVID-19). Situation Report-51, 2021[เข้าถึงเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก. https://www.who.int/docs/default-source/coronaviruse/situation-reports/20200311-sitrep-
-covid-19.pdf
รัฐบาลไทย. (2563). มาตรการโควิด-19, [เข้าถึงเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2564] เข้าถึงได้จาก. https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/29344
Nature. (2021). A global survey of potentialacceptance of a COVID-19 vaccine, [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก. https://www.nature.com/articles/s41591-020-1124-9
Hannah Ritchie, Esteban Ortiz-Ospina, Diana Beltekian, Edouard Mathieu, Joe Hasell, Bobbie Macdonald, Charlie Giattino, Cameron Appel, Max Roser. (2021). Coronavirus (COVID-19) Vaccinations, [เข้าถึงเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก. https://ourworldindata.org/covidvaccinations
COVID-19 TRACKER (Thailand), (2564) [เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก https://graphics.reuters.com/world-coronavirus-trackerand-
maps/countries-and-territories/thailand/
WHO validates Sinovac COVID-19 vaccine for emergency use and issues interim policy recommendations, (2564) [เข้าถึงเมื่อวันที่ 29
มิถุนายน 2564]. เข้าถึงจาก https://www.who.int/news/item/01-06-2021-who-validates-sinovaccovid-19-vaccine-for-emergency-use-and-issuesinterim-policy-recommendations
Wong MCS, Wong ELY, Huang J, Cheung AWL, Law K, Chong MKC, et al. Acceptance of the COVID-19 vaccine based on the health belief model: A population-based survey in Hong Kong. Vaccine. 2021;39:1148-56.
Reuben RC, Danladi MMA, Saleh DA, Ejembi PE. Knowledge, Attitudes and Practices Towards COVID-19: An Epidemiological Survey in North-Central Nigeria. J Community Health. 2021;46:457-70.
Sherman SM, Smith LE, Sim J, Amlot R, Cutts M, Dasch H, et al. COVID-19 vaccination intention in the UK: results from the COVID-19 vaccination acceptability study (CoVAccS), a nationally representative cross-sectional survey. Hum Vacc Immunother. 2021;17:1612-21.
Li XH, Chen L, Pan QN, Liu J, Zhang X, Yi JJ, et al. Vaccination status, acceptance, and knowledge toward a COVID-19 vaccine among healthcare workers: a cross-sectional survey in China. Hum Vaccin Immunother. 2021:1-9.
Dodd RH, Cvejic E, Bonner C, Pickles K, McCaffery KJ, Sydney Health Literacy Lab C-g. Willingness to vaccinate against COVID-19 in Australia. Lancet Infect Dis. 2021;21:318-9.
Holzmann-Littig C, Braunisch MC, Kranke P, Popp M, Seeber C, Fichtner F, et al. COVID-19 Vaccination Acceptance and Hesitancy among Healthcare Workers in Germany. Vaccines (Basel). 2021;9(7).
Goncu Ayhan S, Oluklu D, Atalay A, Menekse Beser D, Tanacan A, Moraloglu Tekin O, et al. COVID-19 vaccine acceptance in pregnant women. Int J Gynaecol Obstet. 2021;154:291-6.
Skjefte M, Ngirbabul M, Akeju O, Escudero D, Hernandez-Diaz S, Wyszynski DF, et al. COVID-19 vaccine acceptance among pregnant women and mothers of young children: results of a survey in 16 countries. Eur J Epidemiol. 2021;36:197-211.
Kelekar AK, Lucia VC, Afonso NM, Mascarenhas AK. COVID-19 vaccine acceptance and hesitancy among dental and medical students. J Am Dent Assoc. 2021;152:596-603.
Mohamed NA, Solehan HM, Mohd Rani MD, Ithnin M, Che Isahak CI. Knowledge, acceptance and perception on COVID-19 vaccine among Malaysians: A web-based survey. PLoS One. 2021;16:e0256110.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.