การศึกษาย้อนหลัง 5 ปี ในผู้ป่วยโรคบาดทะยัก ของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Main Article Content

กมลทรรศน์ ชัยมะเริง
พาวุฒิ เมฆวิชัย

บทคัดย่อ

          วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาลักษณะทางคลินิก การรักษา การเกิดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคบาดทะยักในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ผู้ป่วยและวิธีการ: รวบรวมข้อมูลพื้นฐานและลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยบาดทะยักจากเวชระเบียน ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 นำเสนอข้อมูลในรูปแบบพรรณนาและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยจำนวน 51 ราย เป็นชายร้อยละ 74.5 อายุเฉลี่ย 63.6 ± 12.9 ปี (พิสัย 36-90 ปี) ประมาณร้อยละ60 ของผู้ป่วยมีอายุมากว่า 60 ปี ผู้ป่วยร้อยละ 60.8 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประวัติบาดแผลก่อนเกิดอาการพบร้อยละ 58.8 ไม่มีผู้ป่วยรวยใดได้รับวัคซีนป้องกันโรคหลังจากมีบาดแผลและมีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ เพศ ระยะเวลาฟักตัว ระยะเวลาก่อโรค กับระดับความรุนแรงของโรคแทรกซ้อนแต่พบว่าผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคสูงมีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนและมีระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลนานกว่ากลุ่มผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคต่ำ สรุป: ลักษณะทางคลินิกในผู้ป่วยโรคบาดทะยักขอและเกิดภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคที่รุนแรงมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและมีระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลนานกว่าอย่างมีนัยสำคัญ การเจาะคอตั้งแต่ระยะแรกการได้รับการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตและการรักษาภาวะแทรกซ้อนที่ดีเป็นปัจจัยที่ช่วยลดอัตราการเสียชีวิต

Article Details

How to Cite
ชัยมะเริง ก., & เมฆวิชัย พ. (2024). การศึกษาย้อนหลัง 5 ปี ในผู้ป่วยโรคบาดทะยัก ของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 35(1), 5–12. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/1721
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

บวรวรรณ ดิเรกโภค. Annual epidemiological surveillance report กรุงเทพมหานคร: สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุขประเทศไทย; 2552. Available from: URL: http://cpid.moph.go.th/Ammual/Armual'/2/202552/Main.html.

Adekanle O, Ayodeji OO, Olatunde LO. Tetamus in a Rural Setting of South-Western Nigeria: A Ten-Year Retrospective Study. Libyan J Med 2009; 4: 78-80.

Thwaites CL. Tetanus. Pract Neurol 2002; 2: 130-7.

Ogunrin OA. Tetamus-A review of current concepts in management. I Postgrad Med 2009; 55:46-61.

Centers for Disease Control (CDC). Tetanus Surveil-lance-United States 1998-2000, Morbidity and Mortality Weekly Report 2003; 52(No. SS-3): 3-13.

Pantipa C, Susheera C, Porpit W. Seroprevalence of Tetanus Antibody in the Thai Population: A National Survey. Asian Pac J Allergy Immunol 2007; 25:219-23.

Pornchai S, Chutarat S, Suwanna S. Tetanus: A Retrospective Study of Clinical Presentations and Outcomes in a Medical Teaching Hospital, Thailand. I Med Assoc Thai 2009; 92:315-9.

Pawince W, Sommuck S. Clinical Characteristics and Epidemiology of Tetanus at Burirum Hospital, Thaland. J Infect Dis Antimicrob Agents 2006; 23: 5-8.

Cook TM, Protheroe RT, Handel JM. Tetanus: A review of the literature. Br J Anaesth 2001; 87:477-87.

Center for Disease Control (CDC). Tetanus-United States, 1985-1986 MMWR Morb Mortal Wkly Rep 1987; 36: 477-81.

Philipo LC, Joseph BM, Ramesh MD, Stephen EM, Japhet MG. Ten-year experiences with Tetanus at Tertiary hospital in Northwestern Tanzania: A retrospective review of 102 cases. World J Emerg Surg 2011; 6: 20.

Lau LG, Kong KO, Chew PH. A Ten-year Retrospective Study of Tetanus at a General Hospital in Malaysia. Singapore Med J 2001; 42: 346-50.

Gergen PJ, McQuilian GM, Ezzati -Rice TM, Sutter RW, Virella G. A population-based serologic survey of immunity to tetanus in the United States. N EngI Med 1995; 332: 761-6.

Chukwubike OA, God'spower AE. A 10-year review of outcome of management of tetanus in adults at a Nigerian tertiary hospital. Ann African Med 2009; 168-72.

Yen LM, Dao LM, Day NPJ, Management of tetanus: A comparison of penicillin and metronidazole. Paper presented at Symposium of antimicrobial resistance in southem Viet Nam; 1997; Ho Chi Minh City, Vietnam.

Sonford JP. Tetanus-Forgotten but not gone. N Engl J Med 1995; 332: 812-3.

Trajilo MH, Castillo A, Espana J, Manzo A, Zerpa R. Impact of Intensive Care Management on The progrosis of Tetanus. Analysis of 641 cases. Chest 1987:92: 63-5.

Feroz AHM, Rahman H. A Ten-year Retrospective Study of Tetanus at a Teaching Hospital in Bangladesh. J Bangladesh Coll Phys Surg 2007; 25: 62-9.

Fasunla AJ. Challenges of Tracheostomy in Patients Managed for Severe Tetanus in Developing Country. Int J Prev Med 2010; 3: 176-81.

Philips LA. A classification of tetanus. Lancet 1967; 1: 1216-7.