ภาวะหลอดเลือดดำในสมองอุดตันเนื่องจากภาวะพร่องโปรตีนซี หรือโปรตีนเอส: รายงานผู้ป่วย 6 รายและทบทวนวารสารทางการแพทย์

Main Article Content

พาวุฒิ เมฆวิชัย
สมชาย อินทรศิริพงษ์

บทคัดย่อ

          ปัจจุบันมีการค้นพบสาเหตุใหม่ ๆ ของภาวะหลอดเลือดดำในสมองอุดตันเพิ่มขึ้น ภาวะพร่องโปรตีนซี (Protien C) หรือโปรตีนเอส (Protien S) จัดเป็นสาเหตุอย่างหนึ่งของภาวะนี้ ในประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลทางคลินิกของภาวะหลอดเลือดำในสมองอุดตัน เนื่องจากภาวะพร่องโปรตีนซีหรือโปรตีนเอสผู้นิพนธ์ได้รายงานผู้ป่วย 6 รายที่ได้รับการวินิจฉัยภาวะหลอดเลือดดำในสมองอุดตันเนื่องจากภาวะพร่อง โปรตีนซีหรือโปรตีนเอส และทบทวนรายงานจากวารสารต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะหลอดเลือดดำในสมองอุดตันเนื่องจากสาเหตุต่าง ๆ กับจากภาวะพร่องโปรตีนซีหรือโปรตีนเอส พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านข้อมูลพื้นฐาน เช่น เพศ อายุ ปัจจัยเสี่ยง อาการ และอาการแสดง ผลการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดนั้นได้ผลดีในทั้งสองกลุ่ม

Article Details

How to Cite
เมฆวิชัย พ., & อินทรศิริพงษ์ ส. (2024). ภาวะหลอดเลือดดำในสมองอุดตันเนื่องจากภาวะพร่องโปรตีนซี หรือโปรตีนเอส: รายงานผู้ป่วย 6 รายและทบทวนวารสารทางการแพทย์. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 34(3), 193–200. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/1818
บท
รายงานผู้ป่วย

References

Ameri A, Bousser MG. Cerebral venous thrombosis. Neurol Clin 1992; 10: 87-111.

Stam J. Thrombosis of the cerebral veins and sinus. N Engl J Med 2005; 352: 1791-8.

Masuhr F, Mehraein S, Einhaupl K. Cerebral venous and sinus thrombosis. J Neurol 2004; 251: 11–23.

Poungvarin N, Prayoonwiwat N, Ratanakorn D, Towanabut, Tantirittisak S, Suwanwela N, et al. Thai Venous Stroke Prognostic Score. J Med Assoc Thai 2009; 92: 1413-22.

Rees DC, Cox M, Clegg JB. World distribution of factor V Leiden. Lancet 1995; 346: 1133-4.

Liu HW, Kwong YL, Bourke C. High incidence of thrombophilia detected in Chinese patients with venous thrombosis. Thromb Haemost 1994; 71: 416-9.

Zoller B, Berntsdotter A, Garcia de Frutos P, Dahlback B. Resistance to activated protein C as an additional genetic risk factor in hereditary deficiency of protein S. Blood 1995; 85: 3518-23.

Akkawat B, Rojnuckarin P. Protein S Deficiency is Common in a Healthy Thai Population. J Med Assoc Thai 2005; 88(Suppl 4): S249-S254.

Sanson BJ, Friederich PW, Simioni P, Zanardi S, Hilsman MV, Girolami A, et al. The risk of abortion and stillbirth in antithrombin III, protein C and protein S deficient women. Thromb Haemost 1996; 75: 387-8.

Vandenbroucke JP, Rosing J, Kitty WM, Middeldorp S, Helmerhorst FM, Bouma BN, et al. Oral contraceptive and the risk of venous thrombosis.N Engl J Med 2001; 344: 1527-35.

Rezende SM, Simmonds RE, Lane DA. Coagulation, inflammation, and apoptosis: different roles for protein S and the protein S-C4b binding protein complex. Blood. 2004; 103: 1192-201.

Goodwin AJ, Rosendaal FR, Kottke-Marchant K, Bovill EG. A review of the technical, diagnostic, and epidemiologic considerations for protein S assays. Arch Pathol Lab Med 2002; 126: 1349-66.

Ferro JM, Canhao P, Stam J, Bousser MG, Barinagarrementeria F. Prognosis of Cerebral Vein and Dural Sinus Thrombosis: Results of the International Study on Cerebral Vein and Dural Sinus Thrombosis (ISCVT). Stroke 2004; 35: 664-70.