โรคซิลิโคซิส: รายงานผู้ป่วย 1 รายและทบทวนวรรณกรรม

Main Article Content

ชาคริต หริมพานิช
ธวัชชัย วิวัฒน์วรพันธ์

บทคัดย่อ

โรคซิลิโคซิส เป็นโรคเกี่ยวกับการประกอบอาชีพที่ยังพบได้บ้างในประเทศไทย อาการและอาการแสดงของโรคคล้ายคลึงกับโรคหอบหืดและโรคถุงลมโป่งพอง การซักประวัติการทำงานของผู้ป่วย สภาพแวดล้อมบริเวณที่ทำงานเป็นสิ่งจำเป็นและช่วยในการแยกโรคซิลิโคซิสได้ ภาพถ่ายรังสีปอดมีลักษณะเฉพาะแบบที่ช่วยในการวินิจฉัยโรคซิลิโคซิส การตรวจชิ้นเนื้อปอดไม่จำเป็นในการวินิจฉัยหากประวัติและการตรวจร่างกายที่ชัดเจน การสืบค้นหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อโรค เพื่อดำเนินการป้องงกัน วินิจฉัยและรักษาผู้ที่เป็นโรคตั้งแต่ระยะแรก ทำให้การควบคุมโรคเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิผล บทความนี้ได้รายงานผู้ป่วยโรคซิลิโคซิส 1 รายและทบทวนวรรณกรรม

Article Details

How to Cite
หริมพานิช ช., & วิวัฒน์วรพันธ์ ธ. (2024). โรคซิลิโคซิส: รายงานผู้ป่วย 1 รายและทบทวนวรรณกรรม. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 33(1), 41–48. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/1827
บท
รายงานผู้ป่วย

References

Juengprasert W. Toward Elimination of Silicosis in Thailand. Mineral Dust and prevention of Silicosis; Vol 4: no 2. Sep 1997.

Ross MH, Murray J. Occupational Respiratory Disease in Mining. Occup Med (Lond) 2004; 54: 304-10.

de Shazo RD. Current Concepts about Pathogenesis of Silicosis and Abestosis. J Allergy Clin Immunol 1985; 70: 41-9. [abstract]

Wang SX, Liu P, Wei MT, Chen L ,Guo Y, Wang RY, et al. Roles of serum Clara Cell Protein 16 and Surfactant Protein D in early Diagnosis and Progression of Silicosis. J Occup Environ Med 2007; 49: 834-9. [abstract]

Rimal B, Greenberg AK, Rom WN. Basic pathogenetic mechanism in silicosis: current understanding. Curr Opin Pulm Med 2005; 11: 169-70. [abstract]

Chong S, Lee KS, Chung MJ, Han J, Kwon OJ, Kim TS. Pneumoconiosis: Comparison of Imaging and Pathological findings. Radiographics 2006; 26: 59-77.

International Labour Office. Guidelines for the use of ILO international classification of radiographs of pneumoconiosis. Geneva: ILO, 1980. p. 1-8.

Bucca C, Veglio F, Rola G, Cacciabue M, Cicconi C, Ossaola M, et al. Serum ACE in Sillicosis. Eur J Resp Dis 1984; 65: 477-80. [abstract]

Rom WN, Turner WG, Kanner RE, Renzetti AD Jr, Peebles C, Tan E, et al. Antinuclear antibodies in Utah coal miners. Chest 1983; 83: 515-9.

Parlus WR, Weill H, Jones RN. Silicosis and Related Diseases. In: Morgan WK, Seaton A, editors. Occupational Lung Diseases. 3rd ed. Philadelphia: WB. Saunders; 1994.

Crombie DW, Blaisdell Jl, MacPherson G. The Treatment of Silicosis by Aluminum Powder. Can Med Assoc J 1944; 50: 318-28.

Talmadge EK Jr. Interstitial Lung Diseases. In: Kasper DL, Braunwald E, Fauci AS, Hauser SL, Longo DL, Jameson JL, editors. Harrison’s Principle of Internal Medicine. 16th ed. New York: McGraw-Hill; 2005. p.1554-60.

Inhalation of Organic Dust. In: Fraser RS, Muller NL, Colman N, Pare PD, editors. Frazer and Pare’s Diagnosis of Disease of the Chest. 4th ed. Philadephia: WB. Saunders; 1999.

นิธิพัทธ์ เจียรกุล. โรคปอดจากการทำงาน. ใน: นิธิพัทธ์เจียรกุล, บรรณาธิการ. ตำราโรคระบบการหายใจ. พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจำกัด ภาพพิมพ์; 2550. หน้า 243-54.

สมเกียรติ วงษ์ทิม. นิวโมโคนิโอสิส. ใน: วิทยา ศรีดามา, บรรณาธิการ. ตำราอายุรศาสตร. เลม่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550. หน้า 346-68.

WHO. Prevention And Control Exchange (PACE): Hazard prevention and control in the work environment: Airborne Dust. WHO/SDE/OEH/99.14, World Health Organization, Geneva, Switzerland.

Aungkasuvapala N, Juengprasert W, Obhasi N. Silicosis and Pulmonary tuberculosis in Stone-grinding Factories in Saraburi, Thailand. J Med Assoc Thai 1995; 78: 662-9.

มาตรฐานสถานประกอบการโรงโม่บดหรือย่อยหิน ปี พ.ศ. 2544. กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม.