มะเร็งเต้านมในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Main Article Content

ณัฏฐ์ บุญนิธิ
ปวลิน ชื่นพุฒิ

บทคัดย่อ

          ภูมิหลัง: มะเร็งเต้านมพบมากเป็นอันดับ 2 ในผู้หญิงไทยรองจากมะเร็งปากมดลูก การวินิจฉัยและการรักษาที่ล่าช้าจะทำให้โรคดำเนินไปในทางที่เลวลง ซึ่งสัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิตที่มากขึ้นวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาลักษณะผู้ป่วย ข้อมูลทั่วไป ระยะของโรค การผ่าตัด และภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ผู้ป่วยและวิธีการ: ศึกษาแบบพรรณาย้อนหลังจากเวชระเบียน ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่าง 1 มกราคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2550 ผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่สามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้ทั้งหมด 173 คน เป็นชาย 1 คน อายุเฉลี่ย 54.2±9.4 ปี มีภูมิลำเนาในจังหวัดนครราชสีมา ร้อยละ 93.0 จังหวัดชัยภูมิ ร้อยละ 5.6 จังหวัด บุรีรัมย์และยโสธร ร้อยละ 0.6 อาการที่นำมาพบแพทย์อันดับหนึ่งคือพบก้อนที่เต้านม ผลชิ้นเนื้อเป็น invasive ductal carcinoma ร้อยละ 91.7 ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาพบแพทย์ในระยะที่ 2-3 การรักษาโดยการผ่าตัดทำเป็น modified radical mastectomy (MRM) ร้อยละ 89.2 มีผลแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ร้อยละ 23.4 ส่วนใหญ่เป็น seroma ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล เฉลี่ย 9.9±3.9 วัน (พิสัย 3-74 วัน) สรุป: ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มารักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา มีอายุเฉลี่ย5 4.2 ปี อาการสำคัญส่วนใหญ่มาด้วยอาการพบก้อนที่เต้านม มักจะมาในระยะที่ 2-3 การผ่าตัดส่วนใหญ่ยังคงเป็น MRM ผลแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดที่พบได้บ่อยคือ seroma

Article Details

How to Cite
บุญนิธิ ณ., & ชื่นพุฒิ ป. (2024). มะเร็งเต้านมในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 33(3), 151–158. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/1852
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

Chaiwerawatana A. Breast cancer in Thailand: Vol IV. [cited 2008 Apr 30].Available from: URL:http://www.nci.go.th/File_download/Cancer%20In%20Thailand%20IV/C-II-13.PDF

Morabia A, Wynder EL. Epidemiology and natural history of breast cancer. Implications for the body weight breast cancer controversy. Surg Clin North Am 1990; 70: 739-52.

ธรรมนิตย์ อังศุสิงห์. Screening mammography: when for Thai women? ใน: ศุภกร โรจนนินทร์, อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์, กริช โพธิสุวรรณ, วารินทร์ ตัณฑ์ศุภศิริ, บรรณาธิการ. Head, neck and breast surgery 2.กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้ว; 2543. หน้า 306-24.

Tabar L, Fagerberg CJ, Gad A, Baldetorp L, Holmberg LH, Grontoft O, et al. Reduction in mortality from breast cancer after mass screening with mammography. Randomized trial from breast cancer screening working group of the Swedish National Board of Health and Welfare. Lancet 1985; 1: 829-32.

Elwood JM, Moorehead WP. Delay in diagnosis and long term survival in breast cancer. Br Med J 1980; 280: 1291-4.

Early Breast Cancer Trialists’ Collaborative Group (EBCTCG). Effect of chemotherapy and hormonal therapy for early breast cancer on recurrence and 15-year survival: an overview of the randomized trials. Lancet 2005; 365: 1687-717.

Baum M, Budzar AU, Cuzick J, Forbes J, Houghton JH, Klijn JG, et al; ATAC Trialists’ Group. Anastrozole alone or in combination with tamoxifen versus tamoxifen alone for adjuvant treatment of postmenopausal women with early-stage breast cancer: first results of the ATAC randomized trial. Lancet 2002; 359: 2131-9.

Thurlimann B, Keshaviah A, Coates AS, Mouridsen H, Mauriac L, Forbes JF, et al. A comparison of letrozole and tamoxifen in postmenopausal woman with early breast cancer. N Engl J Med 2005; 353: 2747-57.

Romond EH, Perez EA, Bryant J, Suman VJ, Geyer CE Jr, Davidson NE, et al. Trastuzumab plus adjuvant chemotherapy for operable HER2-positive breast cancer. N Engl J Med 2005; 353: 1673-84.

Piccart-Gebhart MJ, Procter M, Leyland-Jones B, Goldhirsch A, Untch M, Smith I, et al. Trastuzumab after adjuvant chemotherapy in HER2 positive breast cancer. N Engl J Med 2005; 353: 1659-72.

Fisher B, Anderson S, Bryant J, Margo lese RG, Deutsch M, Fisher ER, et al. Twenty-year follow-up of a randomized trial comparing total mastectomy, lumpectomy, and lumpectomy plus irradiation for the treatment of invasive breast cancer. N Engl J Med 2002; 347: 1233-41.

Veronesi U, Cascinelli N, Mariani L, Greco M, Saccozzi R, Luini A, et al. Twenty-year follow-up of a randomized study comparing breast-conserving surgery with radical mastectomy for early breast cancer. N Engl J Med 2002; 347: 1227-32.

Benson EA. Symptom and signs of operable breast cancer 1997-1981. Br J Surg 1983; 70: 350-3.

Thongsuksai P, Chongsuvivatwong V, Sriplung H. Delay in breast cancer care: a study in Thai women. Med Care 2000; 38: 108-14.

Ernster VL, Barclay J, Kerlikowske K, Grady D, Henderson C. Incidence and treatment for ductal carcinoma in situ of the breast. JAMA 1996; 275: 913-8.

อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์. Management of DCIS; nonpalpable and clinically palpable. ใน: ศุภกร โรจนนินทร์, อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์, กริช โพธิสุวรรณ, วารินทร์ ตัณฑ์ศุภศิริ, บรรณาธิการ. Head, neck and breast surgery 2. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้ว; 2543. หน้า 345-52.

Fan J, Wang L, Wang XJ, Wu J, Lu JS, Di GH, et al. Breast conservative therapy in east part of China: a retrospective cohort study. J Cancer Res Clin Oncol 2006; 132: 573-8.