การประดิษฐ์อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากรังสีในกลุ่มงานรังสีวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Main Article Content

วิไล มีมาก

บทคัดย่อ

อันตรายจากรังสีเป็นความเสี่ยงที่สำคัญของงานรังสีวินิจฉัย และอุปกรณ์หลายอย่างที่ใช้ป้องกันอันตรายจากรังสีมีราคาแพง ทำให้มีข้อจำกัดในการจัดสรรงบประมาณซื้ออุปกรณ์เหล่านี้ ผลทำให้อุปกรณ์ไม่เพียงพอ  วัตถุ ประสงค์: เพื่อนำเสื้อตะกั่วที่ชำรุดแล้วมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์โดยการประดิษฐ์อุปกรณ์เพื่อป้องกันการได้รับปริมาณรังสีมากเกินควร วัสดุและวิธีการ: เสื้อตะกั่วที่ชำรุดและไม่ได้ใช้งานแล้วนำมาประดิษฐ์เป็นวัสดุป้องกันรังสีใหม่ นำมาทดสอบการป้องกันรังสี โดยตั้งค่าปริมาณรังสีที่ใช้บ่อย ๆ ในค่าต่าง ๆ กันแล้วไปตรวจหาความดำ ผลการศึกษา: ค่าความดำของฟิล์มข้างหลังเครื่องป้องกันรังสีที่ประดิษฐ์ขึ้นมีค่าใกล้เคียงกับฟิล์มควบคุม สรุป: กลุ่มงานรังสีวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมานำเสื้อตะกั่วที่ชำรุดแล้วมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ได้

Article Details

How to Cite
มีมาก ว. (2024). การประดิษฐ์อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากรังสีในกลุ่มงานรังสีวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 30(2), S81-S86. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2045
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

Protection of the patient during diagnostic radiologic procedures. In: Allen A, editor. Radiation Protection in Medical Radiography. 4th ed. St. Louis: Mosby Inc; 2002.p.166-70.

กานดา พูนลาภทวี. สถิติเพื่อการวิจัย พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์การพิมพ์; 2530 หน้า 169-239.

Campbell MJ, Machin D. Medical statistics: a common sense approach. 2nd ed. New York: John Wiley & Sons; 1993. p.69-86.

Introduction to radiation protection. In: Seeram E, editor. Radiation Protection. Philadelphia: Lippincott-Raven; 1997.p.1-23.

Factors affecting dose in x-ray imaging. In: SeeramE, editor. Radiation Protection. Philadelphia: Lippincott-Raven; 1997. p.156-70.

อรรถพร เสนาลักษณ์. เมื่อรับรังสีจะมีผลอย่างไร.เวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 2534;15:61-5.

สำนักงานพลังงานปรมาญเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลขึ.การฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกันอันอันตราย จากรังสีระดับ 2 กรกฎาคม 2546. หน้า 80.