ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด ของโรงพยาบาลชุมแพ ขอนแก่น

Main Article Content

พงษ์ศักดิ์ จันทร์งาม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นแบบย้อนหลัง เพื่อหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดของโรงพยา-บาลชุมแพจังหวัดขอนแก่น โดยศึกษาสตรีตั้งครรภ์ที่มาคลอดที่โรงพยาบาลชุมแพ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2546 – 30 กันยายน 2547 จำนวน 1,740 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ไคสแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอย ลอจิสติก ปัจจัยที่ศึกษาแบ่งเป็น ปัจจัยด้านสตรีตั้งครรภ์ได้แก่ อาชีพ จำนวนครั้งที่ฝากครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ปัจจัยด้านทารกได้แก่ อายุครรภ์ขณะคลอด น้ำหนักทารกแรกเกิด และปัจจัยด้านการคลอด ได้แก่ ระยะที่สองของการคลอด และวิธีการคลอดเพื่อหาว่าปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ที่ P<0.05 ผลการศึกษาพบปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด คือ อาชีพของสตรีตั้งครรภ์ ภาวะแทรก ซ้อนขณะตั้งครรภ์ จำนวนครั้งที่ตั้งครรภ์ อายุครรภ์ขณะคลอด ระยะที่สองของการคลอด วิธีการคลอด และน้ำหนักทารกแรกเกิด ซึ่งปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้สามารถตรวจพบ และป้องกันได้ถ้าสตรีตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

How to Cite
จันทร์งาม พ. (2024). ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด ของโรงพยาบาลชุมแพ ขอนแก่น. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 29(2), 95–105. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2060
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์. ภาวะวิกฤตของทารกแรกเกิด. ใน: สุขิด เผ่าสวัสดิ์,ศุภวัฒน์ ชติวงศ์, ดำรง เหรียญประยูร, สุทัศน์ กลกิจโกวินท์, บรรณาธิการ. สูติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคระ โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์; 2538. หน้า 477-84.

สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. ข้อเสนอแนะการดูแล ทางสูติกรรมและกุมารเวชกรรมเพื่อป้องกัน และรักษา ภาวะขาดออกชิเจนในทารกขณะเกิด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2542.

Kinoti SN. Asphyxia of the newborn in east, central and southern Africa. East Africa Med J 1993; 70:422-33.

Daga AS, Daga SR, Patole SK. Risk assessment in birth asphyxia. J Trop Pediatr 1990; 36: 34-9.

Hammerman C, Zadka P.Asphyxia-related infant mortality rates. Am J Perinatol 1994; 11: 290-4.

Low JA, Pancham SR, Worthington D, Boston RW. The incidence of fetal asphyxia in six hundreds high-risk monitored pregnancies. Am J Obstet Gynecol 1975; 121: 456-9.

Wildschut HI, Wiedijk V, Nolthenius-Puylaert MT. Birth asphyxia and obstetric care in Curacao Netherlands Antilles. Int J Gynaecol Obstet 1990; 32: 117-22.

Manganaro R, Mami C, Gemelli. The validity of the Apgar scores in the assessment of asphyxia at birth. Eur J Obsiet Gynecol Reprod Biol 1994; 54: 99-102.

Milsom I, Ladfors L, Thiringer K,Niklasson A, Odeback A, Thronberg E. Influence of maternal, obstetric and fetal risk factors on the prevalence of birth asphyxia at term in a Swedish urban population. Acta obstet Gynecol Scand 2002; 81: 909-17.

สุดชาย อมรกิจบำรุง. ปัจจัยต่อคะแนนแอปการ์ที่ 1 นาที น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๗ คะแนนของทารกที่คลอดทางช่อง คลอดในโรงพยาบาลหนองคาย. วารสารวิชาการสาธารณสุข ๒๕๔๗; ๑๓: ๕๓๙- ๘๘.

Kaye D. Antenatal and intrapartum risk factors for birth asphyxia among emergency obstetric referrals in Mulago Hospital, Kampala, Uganda. East Afr Med I 2003; 80: 140-3.

MacDonald HM, Mulligan JC, Allen AC, Taylor PM. Neonatal asphyxia. I. Relationship of obstetric and neonatal complications to neonatal mortality in 38,405 consecutive deliveries. J Pediatr 1980; 96: 898-902.

Khreisat WH, Habahbch Z. Risk factors of birth asphyxia: A study at Prince Ali Ben Al-hussein hospital, Jordan. Pak J Med Sci 2005; 21: 30-4.

Mir NA, Faquih AM, Legnain M. Perinatal risk factors in birth asphyxia: relationship of obstetric and neonatal complications to nconatal mortality in 16,365 conscutive live births. Asia Ociania J Obstet Gynecol 1989; 15:351-7.

Perkins RP, Papile LA. The very low birth weight infant: incidence and significance of low Apgar scores, "asphyxia," and morbidity. Findings at delivery. Am J Perinatol 1985; 2: 108-13.

นวรัตน์ วนาพันธพรกุล. ปัจจัยเสี่ยงต่อการคลอดทารก ที่มีค่าคะแนนแอปการ์ที่ 1 นาทีน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 คะแนน. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2547; 13:567-78.

Al-Alfy A, Carroll Devararajan LV, Moussa MA. Term infant asphyxia in Kuwait. Ann Trop Paediatr 1990; 10: 355-61.

สุธิด คุณประดิษฐ์. สาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหา ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด โรงพยาบาลลำพูน ปี 2540-2542. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งเเวดล้อม 2543; 1:56-69.

Diseases and Injuries of the Fetus and Newborn. In: Cunningham FG, Gant NF, Leveno KJ, Gilstrap LC, Haute JC, Wenstrom KD, editors. Williams Obstrics. 21st ed. New York: McGrawHill; 2001.p. 1039-91.

Kumar R. Birth asphyxia in a rural community of north India. I Trop Pediatr 1995; 41: 5-7.

สันทิต บุญยะส่ง. สาเหตุการขาดอากาศของทารกแรกเกิด ในโรงพยาบาลศรีสังวาลย์. วารสารกรมการแพทย์ 2542; 24: 7-16.

Pryamongkol W. Preterm Labour Management-an Evidence-Update. I Med Assoc Thai 2004; 87: S154-7.

วิทยา ถิฐาพันธ์, สายฝน ชวาลไพบูลย์. การคลอดยาก: บทนำ. ใน:มานี ปีขะอนันต์, ชาญชัย วันทนาศิริ, สิงห์เพ็ชร สุขสมปอง, มงคลเบญจาภิบาล, บรรณาธิการ. สูติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคระ พึ.เอ. ลีฟวิ่ง; 2543. หน้า 181-7.