การผ่าตัดต่อมหมวกไตในเนื้องอกต่อมหาวกไต รายงานผู้ป่วย 1 รายและทบทวนวารสาร

Main Article Content

วีระ สุวรรณเรืองศรี

บทคัดย่อ

Pheochromocytoma เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อย มีลักษณะสำคัญคือ หลั่ง catecholamine จาก chromaffin cell อาจพบบริเวณต่อมหมวกไตและนอกต่อมหมวกไตก็ได้ทำให้มีภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงได้ วัตถุประสงค์ของการรายงานนี้ เพื่อนำเสนอผู้ป่วยหญิงคู่ 1 ราย อายุ 33 ปี มาด้วยอาการปวดศีรษะ และเป็นความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจเพิ่มเติมและวินิจฉัยเป็น pheochromocytoma รักษาโดยทำผ่าตัดต่อมหมวกไตข้างซ้ายออก หลังผ่าตัดความดันโลหิตปกติดีไม่มีอาการปวดศีรษะ ไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด

Article Details

How to Cite
สุวรรณเรืองศรี ว. (2024). การผ่าตัดต่อมหมวกไตในเนื้องอกต่อมหาวกไต รายงานผู้ป่วย 1 รายและทบทวนวารสาร. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 28(2), 117–122. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2109
บท
รายงานผู้ป่วย

References

Couldwell WT, Simard MF, Weiss MH, Jeffrey A. Pituitary and adrenal gland disease. In: Schwartz SI, editor. Principle of Surgery. 7th ed. New York: McGrawHill 1999; p 1646-54.

Bravo EL, Gifford RW Jr. Pheochromocytoma: diagnosis, localization and management. N Engi Med Med 1984; 15: 1298-303.

Lenders JW, Keiser HR, Goldstein DS. Plasma metanephrines in the diagnosis of pheochromocytoma. Ann Intern Med 1995; 15: 101-9.

Kubota Y, Nakakada T, Sasagawa I, Yanai H, Itoh K. Elevated levels of telomerase activity in malignant pheochromocytoma. Cancer 2000; 82: 176-9.

Adams S, Acker P, Lorenz M. Radioisotope-guided surgery in patients with pheochromocytoma and recurrent medullary thyroid carcinoma. Cancer 2001; 92: 263-70.

Ting CAW, Lo CY, Lo CM. Posterior or laparoscopic approach for adrenalectomy. Am I Surg 1998; 175: 488-90.

Imai T, Kikumori T, Ohiwa M, Mase T, Funahashi H. A case-controlled study of laparoscopic compared with open lateral adrenalectomy. Am J Surg 1999; 178: 50-3.

Bentrem DJ, Pappas SG, Ahuja Y. Contemporary surgical management of pheochromocytoma. Am J Surg 2002; 184 : 621-4.