ลักษณะข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย Atopic dermatitis ในคลินิกโรคผิวหนังเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ภูมิหลัง: โรคผิวหนังอักเสบ (atopic dermatitis; AD) เป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก ซึ่งการเกิด AD นั้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาถึงลักษณะข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย AD ที่คลินิกโรคผิวหนังเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ผู้ป่วยและวิธีการ: เป็นการศึกษาแบบตัดขวางในผู้ป่วย AD ที่คลินิกโรคผิวหนังเด็ก กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ในช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2545 ถึง 30 กันยายน 2546 โดยใช้แบบสอบถามและการทบทวนเวชระเบียน ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยเข้าร่วมการวิจัย 62 ราย จากผู้ป่วยทั้งหมด 105 ราย คิดเป็นร้อยละ 59 โดยแบ่งเป็นชาย 32 ราย หญิง 30 ราย และร้อยละ 40-60 มีประวัติสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นได้แก่ ควันบุหรี่ ฝุ่นละอองจากนุ่น ไหมพรม และ/หรือหมัด ไร จากสัตว์เลี้ยง และมีถึงร้อยละ 27.4 ที่สัมผัสกับสิ่งกระตุ้นทั้ง กสัตว์เลี้ป็นชาย 32 ราย หญิง 30 ราย และร้อยละ 40-60 มีประวัติสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นได้แก่3 อย่าง สรุป: ผู้ป่วย AD ของคลินิกโรคผิวหนังเด็กโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 3-15 ปี มีประวัติภูมิแพ้ในครอบครัว และมีประวัติสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ เช่นเดียวกับการศึกษาเรื่อง AD ของประเทศต่าง ๆ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ปรียา กุลละวณิชย์, สุวิรากร โอภาสวงศ์. Eczema and contact dermatitis. ใน: ปรียา กุลละ วณิชย์, ประวิตร พิศาลบุตร,บรรณาธิการ. ตำราโรคผิวหนังในเวชปฏิบัติปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: โฮลิสติก พับลิชซิ่ง จำกัด; 2540. หน้า 1-30.
Habif TP. Atopic dermatitis. In: Habif TP, editor. Chical dermatology. Chicago: Mosby; 1996. p.100-20.
Johansson SG, Hourihane JO, Bouquet J, BrujnzedKoomen C, Dreborg S, Haahtela T, et al. A revised nomenclature for allergy: an EAACI position statement from the EAACI nomenclature task force. Allergy 2001; 56: 813-24.
ปริยา ทัศนประดิษฐ์. Eczema. ใน: ปริยา ทัศนประดิษฐ์, บรรณาธิการ. โรคผิวหนังในเด็ก. กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร; 2529. หน้า 64-90.
Hanafin IM, Rajka G. Diagnostic features of atopic dermatitis. Acta Derm Venereol 1980; 92:44-7.
ศิริวรรณ วนานุกูล. ตำราโรคผิวหนังเด็ก. กรุงเทพมหานคร: โฮลิสติกพับลิชชิ่ง; 2547. หน้า 25-44.
Karmaus W, Davis S, Chen Q, Kuehr J, Kruse H. Atopic manifestations, breast-feeding protection and the adverse effect of DDE. Paediatr Perinat Epidemiol 2003; 17:212-20.
Gdalevich M, Mimouni D, David M, Mimouni M. Breastfeeding and the onset of atopic dermatitis in childhood: a systematic review and meta-analysis of prospective studies. J Am Acad Dermatol 2001; 45: 520-7.
Kerkhof M, Koopman LP, van Strien RT, Wjga A, Smit HA, Aalberse RC, et al. Risk factors for atopic dermatis in infants at high risk of allergy: the PIAMA study. Clin Exp Allergy 2003; 33: 1336-41.
Bohme M, Wickman M, Lennart Nordvall S, Svartengrengren M, Wahlgren CF. Family history and risk of atopic dermatitis in children up to 4 years. Clin Exp Allergy 2003; 33: 1226-31.
Yang CY, Cheng MF, Hsieh YL. Effects of indoor environmental factors on risk for atopic eczema in a subtropical area. J Toxicol Environ Health A 2000 27; 61: 245-53.
Mills CM, Srivastava ED, Harvey IM, Swift GL, Newcombe RG, Holt PJ, et al. Cigarette smoking is not a risk factor in atopic dermatitis. Int J Dermatol 1994; 33: 33-4.
Kramer U, Lemmen CH, Behrendt H, Link E, Schafer T, Gostomzyk J, et al. The effect of environmental tobacco smokes on eczema and allergic sensitiztion in children. Br J Dermatol 2004; 150:111-8.