ภาวะเหงือกงอกเกินจากการใช้ยาไนเฟดิพีน: รายงานผู้ป่วย 1 ราย

Main Article Content

วาริน จงเจริญกมล

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ: รายงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนภาวะเหงือกงอกเกินซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ โดยรายงานผู้ป่วย 1 ราย ซึ่งเกิดภาวะเหงือกงอกเกินจากการใช้ยาไนเฟดิพีนต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานเพื่อรักษาภาวะความดันโลหิตสูง เมื่อให้ผู้ป่วยหยุดยาและเปลี่ยนไปใช้ยาชนิดอื่น ภาวะเหงือกงอกเกินก็ลดลงไปในระดับหนึ่ง และเมื่อให้การรักษาทางทันตกรรมโดยการขูดหินปูน เกลารากฟัน และควบคุมอนามัยช่องปาก ก็สามารถทำให้เหงือกเข้าสู่ภาวะปกติได้โดยไม่ต้องตัดและตกแต่งเหงือก

Article Details

How to Cite
จงเจริญกมล ว. (2024). ภาวะเหงือกงอกเกินจากการใช้ยาไนเฟดิพีน: รายงานผู้ป่วย 1 ราย. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 26(1), 41–44. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2155
บท
รายงานผู้ป่วย

References

Butler RT, Kalkwarf KL, Kaldahl WB. Drug induced gingival hyperplasia: phenytoin, cyclosporin and nifedipine. J Am Dent Assoc 1987;114:55-60.

Lederman D, Lumerman M, Reuben S, Freedman PD. Gingival hyperplasia associated with nifedipine therapy. Oral Surg 1984;57:020-2.

Barak S, Engellourg S, Hiss J. Gingival hyplasia cause by nifedipine: histopathologic findings. J Periodontal 1987; 58:639-41.

Angelopoulos AP. Clinicopathological review: diphenylhydantoin gingival hyperplasia II. Aetiology, pathogenesis, differential diagnosis and treatment. J Can Dent Assoc 1975; 41:275-7, 283.

Bezan KT. Gingival enlargement sccondary to nifedipine therapy. Gen Dent 1987;35:353-4.