การประเมินคุณภาพน้ำสำหรับผลิตยาในโรงพยาบาลในเขต 5 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

Main Article Content

บรรจง กิติรัตน์ตระการ
รำพึง ขวัญปัก

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพน้ำสำหรับผลิตยาในโรงพยาบาล โดยทำการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำสำหรับผลิตยา ทางเคมีและจุลชีววิทยา ตามมาตรฐาน USP 23 จำนวน 120 ตัวอย่าง จากโรงพยาบาลระดับต่าง ๆ 57 แห่งในเขต 5 (จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์และมหาสารคาม) ระหว่างปีงบประมาณ 2541-2544 ผลการศึกษาพบว่าน้ำสำหรับผลิตยาผิดมาตรฐาน 109 ตัวอย่าง (ร้อยละ 90.8) จำแนกเป็นผิดมาตรฐานทางเคมี 73 ตัวอย่าง (ร้อยละ 70.0) ผิดมาตรฐานทางจุลชีววิทยา 3 ตัวอย่าง (ร้อยละ 2.7) ผิดมาตรฐานทางเคมีและจุลชีววิทยา 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 30.3)

Article Details

How to Cite
กิติรัตน์ตระการ บ., & ขวัญปัก ร. (2024). การประเมินคุณภาพน้ำสำหรับผลิตยาในโรงพยาบาลในเขต 5 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 26(2), 107–114. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2165
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

ประทุม พฤกษ์รังรักษ์. ไพโรเจน. วารสารสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล 2536;3:71.

Meltzer TH. Pharmaceutical water: generation, storage, distribution and quality testing. In: Groves MJ, Olson WP, Anihfeld MH, editors. Sterile pharmaceutical manufacturing application for the 1990's. Buffalo: Grove Interpharm Press; 1991. p. 109-42.

สุชาคา ราปะเกษตร์.การผลิตและควบคุมคุณภาพน้ำสำหรับ ผลิตยาในโรงพยาบาล. วารสารองค์การเกสัชกรรม 2540; 23:24-31.

United State Pharmacopeia. USP 23/NF 18. Rock Ville, MD: US Pharmacopial Convention; 1995.

รายงานประจำปี พ.ศ. 2539. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์นครราชสีมา; 2539.