การผ่าตัดริดสีดวงทวารหนักโดยใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Main Article Content

ปริญญา สันติชาติงาม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ : บทนำ โรคริดสีดวงทวารเป็นโรคที่พบได้บ่อย การรักษาโดยใช้เครื่องมือเย็บตัดริดสีดวงทวาร (circular stapler) เริ่มมีการศึกษาครั้งแรกโดย Longo A ในปี พ.ศ. 2536 สำหรับประเทศไทย เริ่มมีการผ่าตัดโดยใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวารในปี พ.ศ. 2543 วัตถุประสงค์ เพื่อรายงานประสบการณ์การผ่าตัดโดยใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร และประสบการณ์กาผ่าตัดโดยใช้วิธีฉีดยาชาเฉพาะที่กับเครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ผู้ป่วยและวิธีการ ผู้ป่วยริดสีดวงทวารหนักที่เข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา โดยใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร ระหว่างเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2543 จำนวน 18 ราย ผ่าตัดโดยผู้รายงานผู้ป่วย 2 ราย ได้รับการระงับความรู้สึกโดยวิธีฉีดยาชาเข้าไขสันหลัง และ 16 รายโดยวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ การผ่าตัด ใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร Circular 35 – mm stapling device (procedure for prolapse and hemorrhoids set) เทคนิคของ Longo A ผลการศึกษา ผู้ป่วยรายแรกและผู้ป่วยที่เป็นโรคลมชักผ่าตัดโดยฉีดยาชาเข้าไขสันหลัง เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยรายแรกคือ bleeding ที่บริเวณ anastomosis ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้โดยใช้ conservative treatment ระยะที่กลับไปทำงานได้ปกติเฉลี่ย 2.6 วัน วิจารณ์และสรุป การผ่าตัดผู้ป่วยริดสีดวงทวารหนักด้วยวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ โดยใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร มีระยะเวลาที่กลับไปทำงานได้ปกติเฉลี่ย 2.6 วัน สามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้ ลดภาวะแทรกซ้อนเรื่อง urinary retention และแพทย์สามารถนำ ไปฝึกปฏิบัติได้ด้วยความมั่นใจและปลอดภัย ดังนั้นการผ่าตัดด้วยวิธีนี้น่าจะเป็นทางเลือกใหม่ในการรักษาริดสีดวงทวารหนัก

Article Details

How to Cite
สันติชาติงาม ป. (2024). การผ่าตัดริดสีดวงทวารหนักโดยใช้เครื่องมือเย็บตัดต่อริดสีดวงทวาร ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 24(3), 145–152. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2271
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

วิทยา วัฒโนภาส. Common anorectal disorders. ใน: ณรงค์ไวทยางกูล, ทองดี ชัยพานิช,เอาชัย กาญจนพิทักษ์, บรรณาธิการ. ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ 13. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรุงเทพเวชสาร; 2538. หน้า 102-8.

Corman ML. Colon and rectal surgery. 2nd ed. Philadelphia: JB Lippincott; 1989. p. 49-105.

จำรัส ปัญจศิริ. การกำจัดริดสีดวงทวารด้วยยา.สรรพสิทธิเวชสาร 2527;5:153-6.

Kodner IJ, Fry RD, Fleshman JW, Bimbaum EH, Read TE. Colon, rectum and anus. In: Schwartz SI, Shires GT, Spencer FC, Daly IM, Fisher JE, Galloway AC,editors. Principle of surgery. 7th ed. New York: McGraw-Hill; 1999.p. 1295-8.

Longo A. Treatment of hemorrhiod disease by reduction of mucosa and hemorrhiodal prolapse with circular suturing device: a new procedure. 6th World Congress of Endoscopic Surgery, 1998, 777-84.

Thomson WHF. The nature of haemorrhiods. Br J Surg 1956;62:542-52.

Levanon A, Biterman A, Behar A, Cohen O. Hemorrhoidectomy using a circular stapler. Harefuah 2000;138:12-4.

Beattie GC, Lam JPH, Loudon MA. A prospective evaluation of the introduction of circumferential stapled anoplasty in management of haemorrhoids and mucosal prolapse. Colorectal Disease 2000;2:137-42.

Roseau E. Hemorrhoids, classical surgery ormechanical endoanal excision. Presse Med 2000;29:1005-6.

Molloy RG, Kingsmore D. Life threatening pelvic sepsis after stapled haemorrhoidectomy. Lancet 2000;355:810.

Mehigan BJ, Monson JR, Hartley JE. Stapling procedure for hacmorrhoids versus Miligan-Morgan haemorrhorrhoidectomy: randomised controlled trial. Lancet 2000;355:782-5.

Rowsell M, Bello M, Hemingway DM.Circumferential mucosectomy (stapled haemorrhoidectomy ) versus conventional haemorrhoidectomy: randomised controlled trial. L.ancet 2000;355:779-81.

Kohlstadt CM, WeberJ, Prohm P. Stapler hemorrhoidectomy-a new alternative to conventional methods. Zentralbl Chir 1999;124:238-43.

Roveran A, Susa A, Patergnani M. Hemorrhoidectomy with circular stapler in advanced hemorrhoid pathology. G Chir 1998;19:239-40.

Nivatvongs S. Local anesthesia in anorectal surgery. ใน: ธนิต วัชรพุกก์, จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ์, ทองดี ชัยพานิช. บรรณาธิการ. ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ 18. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เจ เอส เค การพิมพ์; 2542. หน้า 85-91.

สมศรี เผ่าสวัสดิ์, วราภรณ์ ไวคกุล. Postoperative pain management. ใน: ประพันธ์ กิติสิน, พัฒนพงศ์ นาวีเจริญ, ทองดี ชัยพานิช, วัฒนา สุพรหมจักร, บรรณาธิการ. ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ 15. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรุงเทพเวชสาร; 2540. หน้า551-96.

ปริญญา สันติชาติงาม, ณัฏฐ์ บุญนิธิ. ข้อมูลการผ่าตัคริดสีดวงทวารแบบผู้ป่วยนอกโดยใช้วิธีการฉีดยาชาเฉพาะที่ 108 รายระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2543;ห้องผ่าตัดเล็กโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา; 2543.

Cataldo PA, Mazier WP. Hemorrhoids. In: Cameron JL, editor. Current surgical therapy. 14th ed. St Louis: Mosby Year Book; 1992. p. 219-22.

Clery AD. Local anesthesia containing hyaluronidase and adrenaline for anorectal surgery: experiences with 576 operations. Proc R Soc Med 1993;66:680-1.

Nivatvongs S. An improved technique of local anesthesia for anorectal surgery. Dis Colon Rectum 1982;25:259-60.

ปริญญา สันติชาติงาม, ณัฏฐ์ บุญนิธิ. การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม การผ่าตัดริดสีดวงทวารหนักเปรียบเทียบภาวะแทรกซ้อน urinary retention ของวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่แบบผู้ป่วยนอกเปรียบเทียบกับการฉีดยาชาเข้าไขสันหลังแบบผู้ป่วยใน. รายงานการวิจัยเสนอในการประชุมวิชาการสาธารณสุขเขต 5 ครั้งที่ 2 ประจำปี 2543. โรงแรมทองธารินทร์, สุรินทร์; 11-12 มิถุนายน 2543.

ปริญญา สันติชาติงาม, สุทธิสิทธิ์ บุญนิธิ. รายงานเบื้องต้น ภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดริดสีดวงทวารหนักโดยวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ร่วมกับการให้ยาทางหลอดเลือดดำเปรียบเทียบกับการฉีดยาชาเข้าไขสันหลังหรือดมยาสลบ: การศึกษาเชิงทคลองแบบสุ่ม. รายงานการวิจัยเสนอในการประชุมวิชาการสาธารณสุขเขต 5 ครั้งที่ 1 ประจำปี 2542. โรงเเรมรอยัลปริ้นเซส, นครราชสีมา;20-21 มิถุนายน 2542.