การริเริ่มใช้ Partograph ในโรงพยาบาลสมุทรปราการ

Main Article Content

อรพินธ์ ไตรวนาธรรม

บทคัดย่อ

จากการศึกษาผู้ป่วยที่คลอดในโรงพยาบาลสมุทรปราการ 795 ราย มีผู้ป่วย 588 ราย ที่ศึกษาการใช้ Partograph ดูแลการคลอด พบความผิดปกติในกราฟของระยะที่ 1 ของการคลอดทั้ง 5 ชนิดรวม 137 รายคิดเป็น 23.30% ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีการคลอดปรกติ 88.32% ผ่าตัดคลอด 8.76% ขณะที่ผู้ป่วยที่ระยะที่ 1 ปรกติ มีการคลอดปรกติ 98.89% ไม่มีการผ่าตัดคลอดเลย กลุ่มที่ผิดปรกติทั้ง 5 นั้นกลุ่มที่มีเส้นกราฟเลยเส้นปฏิบัติมีอัตราการผ่าตัดคลอดสูงที่สุดคือ 31.81% มีการคลอดปรกติ 68.19% กลุ่มนี้มีเส้นกราฟเลยเส้นตื่นตัวเพียงอย่างเดียวมีการผ่าตัดคลอดน้อยมากคือ 3.95% มีการคลอดปรกติ93.42%  กลุ่มที่มีระยะเฉื่อยยาวนานเท่านั้นมีการผ่าตัดคลอด 6.06% มีการคลอดปรกติ 93.94% ผู้ป่วยที่คลอดผิดปรกติส่วนใหญ่จะเป็นครรภ์แรก

Article Details

How to Cite
ไตรวนาธรรม อ. (2024). การริเริ่มใช้ Partograph ในโรงพยาบาลสมุทรปราการ. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 19(1), 79–94. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2286
บท
Articles

References

Cunningham FG, Mac donald PC, Gant NF. Williams Obstetrics.18th edition, Connecticut, Appleton & Lange 1989, pp1-6,307-326.

Shah PM. Prevention of mental handicaps in children in primary health care. Bull-World-Health-Organ 1991;69(6):779-789.

แหง จาตุรจินดา, วินิต พัวประดิษฐ์. การบริบาลการคลอด (Labour care). ใน:สูติศาสตร์รามาธิบดี กำแหง จาตุรจินดา, สมพล พงศ์ไทย, สมศักดิ์ ตั้งตระกูล, สมาน ภิรมย์สวัสดิ์, สุวชัย อินทรประเสริฐ, อร่ามโรจนสกุล. บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร, สำนักพิมพ์เมดิคัลมีเดีย 2530, หน้า 233-248.

อากฤษฏิ์ บุญสงวน. แนวทางการใช้ Partograph ดูแลการคลอดในห้องคลอด โรงพยาบาล สมุทรปราการ. วารสารโรงพยาบาลสมุทรปราการ 2537;6:6-13.

Cardozo LD, Gibb DMF, Studd JWW, Vasant RV, Cooper DJ. Prediction value of cervimetric labour patterns in primigravidae. Br J Obstet Gynecol 1982:89:33-38.

Gibb DMF, Cardozo LD, Studd JWW, Magos AL, Cooper DJ. Outcome of spontaneous labour in multigravidae. Br J Obstet Gynecol 1982;89:708-711.

Friedman EA. Labour:Cinical evaluation and management.2" edition, New York, Appleton Century Crofts 1982.

สุดชาย ปันยารชุน. การคลอดยาก (Dystocia). กรุงเทพมหานคร, สวนสยามการพิมพ์ 2532, หน้า 1-8.

David B, Peisner MD, Mortimor GR. Transition from Latent to Active labor. Obstet Gynecol 1986;66:448-451.

Turner MJ, Brassil M, Gordon H. Active management of labor assciated with a decrease in the cesarean section rate in nulliparas. Obstet Gynecol 1988;71:150-154.

Akoury HA, Brodic G, Caddick R, McLaughin VD, Pugh PA. Active management of labor and operative delivery in nullibarous women. Am J Obstet Gynecol 1988;158:255-258.