ปัจจัยเสี่ยงของการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยในโรงพยาบาลครบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
จากการศึกษาลักษณะของมารดาที่คลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย เปรียบเทียบกับมารดาที่คลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักปกติ ของโรงพยาบาลครบุรี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2533 - 30 กันยายน 2534 พบว่า ลักษณะที่ทำให้มีมีปัจจัยเสี่ยงของการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-values < 0.05) ได้แก่
มารดาไม่ได้รับการตรวจครรภ์ก่อนคลอดหรือได้รับการตรวจครรภ์ก่อนคลอดน้อยกว่า
อายุการตั้งครรภ์ของมารดาน้อยกว่า 37 สัปดาห์ หรือมากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกที่เกิดจากมารดาครรภ์ที่ 1 หรือมารดาครรภ์ที่ 4 ขึ้นไป
อายุมารดาขณะตั้งครรภ์น้อยกว่า 17 ปี หรือมากว่า 35 ปีขึ้นไป
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คณาจารย์วิทยาลัยพยาบาล "การพยาบาลสูติ-นรีเวชศาสตร์" สังกัดกองงานวิทยาลัยพยาบาล อรุณการพิมพ์ 457/6-7 ถนนนพระสุนทร กทม : 105-106
ประมวญ สุนากร , อุดม เล็กสมบูรณ์ อนันต์ สุวัฒน์วิโจน์ และคณะ "ระบาดวิทยาเเละปัจจันสื่ยงของทารกน้ำหนักตัวน้อยในประเทศไทย" วารสารสมาคมกุมารเเพทย์ 2531. 27:28-54
พิชัย กาญจนพิพัฒน์กุล และคณะ "ปัจจัยส่งเสริมการคลอดทารกน้ำหนักตัวน้อยในโรงพยาบาลแม่สอด" วารสารกรมการแพทย์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2529 : 273-730
รุ่งโรจน์ พิมพ์ใจพงศ์ และคณะ "น้ำหนักแรกเกิดของทารกความสัมพันธ์กับอายุ อาชีพ การศึกษา และการได้รับการตรวจครรภ์ของมารดา" วารสารมการแพทย์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 8 สิงหาคม 2531 : 489-495
แสงดาว มยุระสาคร และคณะ "ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยที่โรงพยาบาลบุรีรัมย์' วารสารกรมการแพทย์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ 25333 : 67-74
BEHRMAN RE, KLEGMAN RM. THE HIGH-RISK INFANT. IN : BEHRMAN RE, VAUGHAN VC 3 RD EDS NELSON TEXTBOCK OF PEDIATRICS 11 TH ED. PHILADELPHIA; WS SAUNDERS, 1983 : 388-40
FIZHARDING PM. EARLY GROWTH AND DEVELOPMENT IN LOW BIRTH WEGHT INFANTS FOLLOWING TREATMENT IN AN INTENSIVE CARE NURSERY. PEDIATRICS 1975; 56 :162-72.
NONDASNTA A, CHATURACHINDA K. WATTANA-KASETR S. BIRTH WEIGHT DIS.