การรักษาหูดด้วยเครื่องจี้ราคาถูกประยุกต์จากเครื่องบัดกรีตะกั่วด้วยไฟฟ้า ที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของเครื่องจี้หูดด้วยไฟฟ้าราคาถูก เปรียบเทียบกับเครื่องจี้แบบมาตรฐาน ผู้ป่วยและวิธีการ เป็นการศึกษาแบบ descriptive study เปรียบเทียผลของการรักษาหูดด้วยเครื่องมือทั้งสองชนิด โดยแพทย์ 12 คน ในผู้ป่วยโรคหูด 12 ราย ที่ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่างเดือนเมยายน 2541 ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับการรักษาโดยใช้ทั้งเครื่องจี้ไฟฟ้าแบบมาตรฐานกับเครื่องจี้หูดด้วยไฟฟ้าประยุกต์จากเครื่องบัดกรีตะกั่วของผู้วิจัย ผลการศึกษา การรักษาหูดด้วยเครื่องจี้ราคาถูกมีความปลอดภัย สามารถใช้งานได้ดี เอาหูดออกได้หมด ไม่พบภาวะแทรกซ้อน สรุป เครื่องที่หูดด้วยไฟฟ้าราคาถูก เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องจี้ไฟฟ้าแบบมาตรฐาน พบว่ามีประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน และมีความปลอดภัยสูง ทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์ทางการแพทย์ได้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Pickrell KL. Surgical disorders of the skin. In: Sabiston DC, editor. Textbook of surgery. 10th ed. Philadelphia: WB Saunders;1972. p. 1436.
Chiriste WR. Skin and subcutaneus tissue. In: Schwartz SI Shires GT, Spencer FC, editors. Principles of surgery. 5th ed. New York: Mc Graw-Hill; 1989. p. 533-4.
จุฬาภรณ์ พฤกษชาติคุณากร. Viral diseases with cutaneus involvement. ใน: สุจิตรา วีรวรรณ, อมรศรี ชุณหรัศม์, ศรีศุภลักษณ์ สิงคาลวณิช, บรรณาธิการ. โรคผิวหนังเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง; 2539. หน้า 66.
Valley Inc. Intruction manual: Force 2 ectrosurgical genrator. Cororado, USA: Pfizer Hospital Products Group; 1995.
Cohn IJ, Bornside GH. Infections. In: Schwartz SI, Shires GT,Spencer FC, editors. Principles of surgery. 5th ed. New York: Mc Graw-Hill; 1989. p. 211-2.
มานัส มงคลสุข. Condensed physics 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เพียรพัฒนาพริ้นติ้ง; 2538. หน้า 341.