นมแม่และอาหารเสริมของทารกในคลินิกเด็กดีโรงพยาบาลมหาราชนกรราชสีมา

Main Article Content

นงนุช บุณยเกียรติ
โยธี ทองเป็นใหญ่

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบ hospital based, cross-sectional study โดยการสัมภาษณ์แม่ที่มีลูกอายุ 0-5 เดือน ที่มารับบริการจากคลินิกเด็กดีของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะอาหารทารกอายุ 0-5 เดือน และเทียบเทียบน้ำหนักทารก 0-5 เดือนที่เลี้ยงด้วยนมแม่ ทารกที่เลี้ยงด้วยนมแม่ร่วมกับนมผสม และทารกที่เลี้ยงด้วยนมผสม ผลการศึกษาพบว่าแม่ที่ไม่ต้องทำงานนอกบ้าน แม่ที่มีรายได้ของครอบครัวค่อนข้างต่ำจะมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากกว่าแม่ที่ต้องทำงานนอกบ้าน หรือแม่ที่มีรายได้ของครอบครัวค่อนข้างสูง แม้จะพบว่าแม่มีการเลี้ยงลูกด้วยนมตนเองอยู่เป็นจำนวนมากและมีแม่ส่วนหนึ่งที่เลี้ยงลูกด้วยนมสมด้วย แต่ก็มีการให้อาหารเสริมก่อนวัยอันควรอยู่เป็นจำนวนมาก อาหารเสริมที่พบได้แก่ ข้าว กล้วย อาหารเสริมสำเร็จรูป น้ำผลไม้ น้ำ น้ำผึ้งหรือ นมข้นหวาน ไข่ เนื้อสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำ ซึ่งอาหารเสริมเหล่านี้เป็นอุปสรรคสำคัญของการให้เกิดพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวสำหรับการพัฒนาทางด้านน้ำหนักของการให้เกิดพฤติกรรมการเลี่ยงลูกด้วยมแม่อย่างเดียว สำหรับการพัฒนาทางด้านน้ำหนักของทารกพบว่า กลุ่มที่เลี้ยงด้วยนมแม่ มีน้ำหนักไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่เลี้ยงด้วยนผสม และกลุ่มที่เลี้ยงด้วยนมผสมร่วมกับนมแม่ ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ก็ได้พิสูจน์ว่าทารกที่เลี้ยงด้วยนมแม่มีพัฒนาการทางด้านน้ำหนักไม่ด้อยกว่านมผสม

Article Details

How to Cite
บุณยเกียรติ น., & ทองเป็นใหญ่ โ. (2025). นมแม่และอาหารเสริมของทารกในคลินิกเด็กดีโรงพยาบาลมหาราชนกรราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 20(2), 253–264. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2670
บท
Articles

References

พรสิณี อมรวิเชษฐ์ และยุพา พูนขำ (2536) โครงการศึกษาสภาวะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่กองอนามัยครอบครัว 45:21

โยธี ทองเป็นใหญ่ และวรพันธ์ พิไชยแพทย์ (2537) การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในจังหวัดนครราชสีมาเวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 18:223-234

Brown K.H. et al. (1988) Infant feeding practices and their relationship with diarrheal and other diseases in Huascar (Lima), Peru

Butte N.F. et al. (1984) Human milk intake and growth in exclusively breast-fed infants. J Pediatr 104:187-195

Derricle B. Jelliffe and E.F. Patricellife The Volume and Composition of human milk in poorly nourished communities. The Americare

Fishuat M. Murphy D, Neifert M et al. (1981) Bronchomamary axis in the immune response to respiratory syncytial virus. J Pediatr 99: 186-191, 1981.

Goldblum RM, Aulstedt S, Carlsson B et al. (1975) Antibody forming cells in human colostrum after oral immunization.Nature (London) 797-799.

Lucas, A. et al. Breast milk and subsequent intelligence quotient in children born preterm. Lancet. 1992; 339:261-264.

Rowland M.G.M. (1986) The weanling's dilemma: are we making progress? Acta Paediatr Scnd, Supp. 323:33-42

Seard, N.F. Walker, W.A. The Role of Breast Milk in the Development of the Gastrointestinal Tract. Nutrition Reviews.1988;465:1-8

UNICEF (2535) บันได 10 ขั้น สู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

UNICEF (2538) เป้าหมายเพื่อเด็กของประเทศไทยปี 2538.

Victora C.G. et al. (1987) Evidence for protection by breastfeeding against infant deaths from infectious diseases in Brazil.Lancet 319-321.

Vis, H.L., Ruchababisha, M. R Hennart, P. (1987) Breastfeeding and the growth and development of the infant. Int. J. Gynecol. Obstet. 239-248.

World Health Assembly: Breastfeeding and Health for all. Lancet. 1981:1254.