ภาพแทนสังคมไทยในสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 ผ่านกวีนิพนธ์ (พ.ศ.2562-2565)

ผู้แต่ง

  • ณัฐสุดา สุดหล้า สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • มารศรี สอทิพย์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

ภาพแทน, โควิด 19, กวีนิพนธ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพแทนของสังคมไทยในสถานการณ์วิกฤติโควิด 19 ผ่านการเลือกตัวบทจากกวีนิพนธ์ที่ประพันธ์ขึ้นระหว่างพ.ศ. 2562-2565 จำนวน 285 ผลงาน ผลการศึกษาพบการแบ่งภาพแทนออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1. ภาพแทนของสังคมเมือง ได้แก่ ภาพแทนของเมืองที่เงียบเหงา ร้างไร้ผู้คน , ภาพแทนการปิด/ยุติสถานประกอบกิจการ , ภาพแทนความล้มเหลวทางเศรษฐกิจ , ภาพแทนการบริหารงานของรัฐที่ล้มเหลว และภาพแทนความอยุติธรรมในสังคมท่ามกลางวิกฤต 2. ภาพแทนของคนในสังคม ได้แก่ ภาพแทนการสู้ชีวิตท่ามกลางวิกฤต , ภาพแทนความโดดเดี่ยวในสังคม , ภาพแทนของแพทย์พยาบาลเป็นฮีโร่จากการทำงานหนัก , ภาพแทนการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของผู้คนจำนวนมาก , ภาพแทนความหวังของคนในสังคม , ภาพแทนการช่วยเหลือและแบ่งปันระหว่างคนในสังคม และ ภาพแทนวิถีปฏิบัติยุคโควิด 3. ภาพแทนของธรรมชาติท่ามกลางวิกฤต ได้แก่ ภาพแทนธรรมชาติช่วยบำบัดความทุกข์ใจ , ภาพแทนโควิดเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติ  , ภาพแทนการถูกฟื้นฟูของธรรมชาติ และภาพแทนความไม่แน่นอนของธรรมชาติ

References

กิตติมา จันทร์ลาว.(2555).วิเคราะห์กวีนิพนธ์ สถาพร ศรีสัจจัง.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).

สาขาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.

ชมัยพร แสงกระจ่าง.(2563).ก้าวผ่านกาฬเวลา บันทึกแห่งใจในสถานการณ์โคโรนาไวรัส.

สำนักพิมพ์คมบาง

สมาคมราชานุกูล กรมสุขภาพจิต , สมาคมนักเขียนแห่งประทศไทย , ธนาคารจิตอาสา , แผนการส่งเสริม

วัฒนธรรมการอ่าน สสส.(2565).ภูมิคุ้มใจ ในวันทุกข์ รวมบทกวีและเรื่องสั้น อ่านยาใจปีที่ 2.

บริษัท พิมพ์ดี จำกัด

ณัฐธิดา ศิริชัยยงบุญ.(2559).เมืองในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).

สาขาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ละอองดาว จิตต์พิริยะการ.(2562).หญิงม่าย : ภาพแทนนางเอกชายขอบในนวนิยายไทยร่วมสมัย.

(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม. สาขาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สุพัชริณทร์ นาคคงคำ.(2562). ภาพแทนชาวไทยภูเขาในวรรณกรรมไทยร่วมสมัยปี พ.ศ. 2498-2559.

(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก. สาขาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยนเรศวร

ธนพร หมูคำ.(2562). การประกอบสร้างภาพแทนสตรีในวรรณกรรมอาเซียนกับบทบาททางการเมือง.

วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 6(2).

หน้า 116-126

ธารารัตน์ เป้ดทิพย์ , มารศรี สอทิพย์.(2561).ภาพแทนครูในบทเพลงชุดครูในดวงใจ.(การประชุมวิชาการ

นำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 19). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นริศรา วัฒนชัยศรีสกุล , ปนัดดา เลอเลิศยุติธรรม.(2560).ภาพแทน “การยอมรับการรักเพศเดียวกัน”

ของวัยรุ่นจากรายการคลับฟรายเดย์. วารสารศิลปะศาสตร์ปริทัศน์, 12(23). หน้า75-84

นิตยา แก้วคัลณา.(2565).เรียนรู้วิกฤติสาธารณภัยโควิด 19 : บันทึกอารมณ์และความคิดผ่านการสืบสรรค์

วรรณศิลป์ในบทเพลงไทยร่วมสมัย. วารสารศิลปศาสตร์, 22(1).หน้า 157-182

นิตยา อ่อนละมูล , เบญจมาภรณ์ บุญขันธ์ , ณัฐกานต์ เส็งชื่น.(2565).คำเหมือน (Synonym) ภาษาอังกฤษที่

ปรากฏในข่าวสถานการณ์โควิด 19 ของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ และเดอะเนชั่นออนไลน์.

วารสารอักษราพิบูล, 3(1).หน้า 104-113

ปรเมศวร์ รัมยากูร.(2563). การสื่อสารในภาวะวิกฤตของเว็บไซต์ และแอปพลิเคชันที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์

โควิด 19 ในประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 19(2).หน้า 231-245

พัชราภรณ์ เรือนทอง.(2561).ภาพแทน “ชาวเขา” ในภาพยนตร์.(โครงการประชุมวิชาการและนำเสนอ

ผลงานระดับชาติของนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 1). มหาวิทยาลัย

ราชภัฎสวนสุนันทา

พิชญาวี ทองกลาง , จามจุรี นิศยันต์.(2563). ภาพแทนผัว-เมีย ในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่ง. วิวิธวรรณสาร,

(3). หน้า 54-79

ภพ สวัสดี. (2565). ชุดความคิดที่สะท้อนผ่านวาทกรรมการโค้ชของอินฟลูเอนเซอร์เพื่อส่งเสริมสุขภาพผ่านสื่อ

สังคมออนไลน์ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด 19. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22(4).

หน้า 160-170

รุ่งรัตน์ ทองสกุล. (2564). การสื่อความหมาย และกลวิธีการใช้ภาษาในเพลงเกี่ยวกับสถานการณ์โควิด 19.

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 10(2). หน้า 57-74

วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต.(2564). “เราจะผ่านวิกฤตไปด้วยกัน” การโน้มน้าวใจในนปริเฉทการแถลงข่าว

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วรรณวิทัศน์, 21(1).หน้า 62-100

สรศักดิ์ เชี่ยวชาญ. (2564). การใช้ภาษาในข่าวการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จากเว็บไซต์หนังสือพิมพ์

ออนไลน์. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,

(1).หน้า 72-88

สุพรรษา ภักตรนิกร.(2565).วาทกรรมโควิด 19 ในการ์ตูนขายหัวเราะชุด “knoecovid” : รู้ทันโควิด : สื่อ

เผยแพร่อุดมการณ์รัฐ.วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(1).หน้า 125-153

สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์ , วุฒิพงษ์ ประพันมิตร.(2564).บุคคลผู้ควรค่าแก่การยกย่องที่สุดยุคใหม่ : การสร้าง

ภาพแทนฮีโร่ในสังคมจีนยุคโควิด 19. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(2).

หน้า 366-390

สมาคมราชานุกูล กรมสุขภาพจิต , สมาคมนักเขียนแห่งประทศไทย , ธนาคารจิตอาสา , แผนการส่งเสริมวัฒนธรรม

การอ่าน สสส. (2565). ภูมิคุ้มใจ ในวันทุกข์ รวมบทกวีและเรื่องสั้น อ่านยาใจปีที่ 2. บริษัท พิมพ์ดี จำกัด

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31