ความซ้อนเหลื่อมที่ปรากฏผ่านพระพุทธรูปในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • เหมือนฝัน คงสมแสวง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

คำสำคัญ:

ความซ้อนเหลื่อม, พระพุทธรูป

บทคัดย่อ

พระพุทธรูปในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงคติในการดำเนินการสร้างและการประดิษฐานไม่น้อย ซึ่งเกี่ยวพันกับการทำหน้าที่ทางการสื่อสารแตกต่างกัน และล้วนเป็นผลพวงของการผสมผสานบริบททางวัฒนธรรมในห้วงเวลานั้น ๆ ปรากฏซ้อนเหลื่อมกัน โดยความซ้อนเหลี่ยมที่แสดงให้เห็นผ่านพระพุทธรูปนั้น มิได้จำกัดอยู่เพียงแต่ตัวบทอันเกี่ยวพันกับความเชื่อ ศาสนา และศิลปวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังพบตัวบทอื่นประกอบด้วย อาทิ การเมือง เศรษฐกิจ เทคโนโลยี กระแสพฤติกรรมของผู้คน ดังนั้น จากแนวโน้มที่เป็นมาเช่นนี้ เบื้องหน้าสืบไปเราจักมีโอกาสได้เห็นพระพุทธรูปที่เกิดจากการประกอบสร้างรูปแบบและเนื้อหาใหม่อย่างที่เราอาจไม่เคยคาดไปถึงเป็นแน่

References

กรอุมา นุตะศรินทร์. (2542). การก่อสร้างอนุสาวรีย์และการจำลองพระพุทธรูปสำคัญ. สารกรมศิลปากร, 12(5),

-11.

กฤศวัฒน์ บันลือทรัพย์. (2547). ประวัติศาสตร์ศิลป. ธรรมชาติการพิมพ์.

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2553). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2554). พระพุทธรูปอินเดีย. ด่านสุทธาการพิมพ์.

โชติ กัลยาณมิตร. (2551). บทที่ 2 วัดในประเทศไทย. ใน หนังสือชุดลักษณะไทย เล่มที่ 2 เรื่อง ภูมิหลัง

(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

ทรงสรรค์ นิลกำแหง, พรรณี สุนทรโยธี และสุรีย์รัตน์ วงศ์เสงี่ยม. (2525). จดหมายเหตุการณ์สร้างพระพุทธรู

ปพระประธานพุทธมณฑล. กรมศิลปากร.

ธีรยุทธ บุญมี. (2546). ถอดรื้อปรัชญาและศิลปะแบบตะวันตกเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

พิริยะ ไกรฤกษ์. (2547). ปกิณกะในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องความเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม. ใน ตะวันตกในตะวันออก: สังคมไทยสมัยรัชกาลที่ห้าถึงปัจจุบัน เอกสารประกอบการสัมมนาเฉลิมพระเกียรติครบรอบ 150 ปี พระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. สถาบันไทยคดีศึกษา.

พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (2545). จุ๊ จุ๊ อย่าดัง! พระกำลังปลีกวิเวก. ใน หาพระหาเจ้า รวมบทความทางวิชาการเกี่ยวกับความหมายทางสังคมและวัฒนธรรมของโบราณวัตถุและโบราณสถาน. พิฆเณศ พริ้นท์ติ้ง เซ็นเตอร์.

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. (2547). ความเปลี่ยนแปลงทางรูปแบบและแนวความคิดของอนุสาวรีย์ไทยที่อุทิศให้วีรชน. ดำรงวิชาการ รวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดีปี 2547, 3(5), 68-77.

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. (2553). พระพุทธปฏิมาสยาม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

วิไลเลขา ถาวรธนสาร. (2545). ชนชั้นนำไทยกับการรับวัฒนธรรมตะวันตก. ด่านสุทธาการพิมพ์.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2554). พระพุทธรูปสำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์

เซ็นเตอร์.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2556). พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของงานช่างและแนวคิดที่ปรับเปลี่ยน.

ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์. (2547). ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตกฉบับสมบูรณ์. มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค.

สายพิน แก้วงามประเสริฐ. (2538). ท้าวสุรนารี อนุสาวรีย์ 'สามัญชน' คนแรกในระบอบประชาธิปไตย.

ศิลปวัฒนธรรม, 17(2), 200-20.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-31