ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี ในยุคหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
คำสำคัญ:
ปัญหาทางสุขภาพจิต, บุคลากรทางการแพทย์, หลังการในยุคหลังการระบาดโรคโควิด-19บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคลากรโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี ในยุคหลังการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
วิธีการวิจัย: เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางในบุคลากรโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาจำนวน 373 คน ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 31 พฤษภาคม 2567 โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ตามสาขาอาชีพและตามสัดส่วนขนาดของประชากรเครื่องมือวิจัยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง ประกอบด้วยเนื้อหา 4 ส่วน ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยจากงาน ปัจจัยด้านความกังวลต่อโรคโควิด-19 และแบบคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต Thai GHQ-28 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ
ผลการวิจัย: ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 373 ชุดคิดเป็นร้อยละ 41.4 พบความชุกของปัญหาทางสุขภาพจิตในกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 12.9 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ รายได้ไม่เพียงพอ (aOR=2.39; 95%CI=1.14-5.01) ชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์มากกว่า 56 ชั่วโมง (aOR=0.018; 95%CI=1.25-10.63) และมีหน้าที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 (aOR= 0.005; 95%CI=1.34-5.13)
สรุปผล: ความชุกของปัญหาทางสุขภาพจิตในการศึกษานี้ใกล้เคียงกับการศึกษาในยุคการระบาดโรคโควิด-19 แม้ว่าระดับความกังวลของบุคลากรต่อโรคโควิด-19 จะลดลงจากช่วงมีการระบาด
References
Hui DS, I Azhar E, Madani TA, Ntoumi F, Kock R, Dar O, et al. The continuing 2019-nCoV epidemic threat of novel coronaviruses to global health - The latest 2019 novel coronavirus outbreak in Wuhan, China. International Journal of Infectious Diseases. 2020;91:264-6.
Cucinotta D, Vanelli M. WHO Declares COVID-19 a Pandemic. Acta bio-medica : Atenei Parmensis. 2020;91(1):157–60.
Pfizer Inc. Global and U.S. Agencies Declare End of COVID-19 Emergency [Internet]. Pfizer. 2023 [cited 2024 Jul 26]. Available from: https://www.pfizer.com/news/announcements/
global-and-us-agencies-declare-end-covid-19-emergency
Wipatayotin A, Bangprapa M. “Post-pandemic Day” edges near. Bangkok Post [Internet]. 2022 Jun 28 [cited 2024 Jul 26]; Available from: https://www.bangkokpost.com/thailand/general/2334988/post-pandemic-day-edges-near.
กระทรวงสาธารณสุข. DDC COVID-19 Interactive Dashboard [อินเทอร์เน็ต]. 2567 [เข้าถึงเมื่อ 26 ก.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/covid19dashboard/?dashboard=main
กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค [Internet]. วัคซีนโควิด 19. 2024 [เข้าถึงเมื่อ 26 ก.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/vaccine-covid19/pages
Dai Y, Hu G, Xiong H, Qiu H, Yuan X. Psychological impact of the coronavirus disease 2019 (COVID-19) outbreak on healthcare workers in China [Internet]. 2020 [cited 2024 Jul 26]. Available from: http://dx.doi.org/10.1101/2020.03.03.20030874
Du J, Dong L, Wang T, Yuan C, Fu R, Zhang L, et al. Psychological symptoms among frontline healthcare workers during COVID-19 outbreak in Wuhan. General Hospital Psychiatry. 2020;67(1):144–5.
ศศิธรโยธะบุรี. ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตของบุคลากรโรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลสารคาม. 2565;19(3):149-64.
Konradsen H, Brødsgaard A, Østergaard B, García-Vivar C, Svavarsdottir EK, Dieperink KB, et al. The COVID-19 Post Pandemic: Family Nursing Now More Than Ever. Journal of Family Nursing. 2023;29(1):3–5.
Liang Z, Wang Y, Wei X, Wen W, Ma J, Wu J, et al. Prevalence and associated factors of depressive and anxiety symptoms among healthcare workers in the post-pandemic era of COVID-19 at a tertiary hospital in Shenzhen, China: A cross-sectional study. Frontiers in Public Health. 2023;11:1094776.
Nilchaikovit T, Sukying C, and Silpakit C. Reliability and Validity of the Thai Version of the General Health Questionnaire. Journal of the Psychiatric Association of Thailand. Journal of the Psychiatrist Association of Thailand. 1996;41:2-17.
กนกฉัตร กาญจนนิตย์. ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า จ.เชียงราย ระหว่างการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19). วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2566;6(3):218-27.
Konradsen H, Brødsgaard A, Østergaard B, García-Vivar C, Svavarsdottir EK, Dieperink KB, et al. The COVID-19 Post Pandemic: Family Nursing Now More Than Ever. Journal of family nursing. 2023;29(1):3–5.
วิศิษฎ์ เนติโรจนกุล. ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลนครปฐม ในยุคการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19). วารสารแพทย์เขต 4-5. 2563:39(4):616-27.
Yao Y, Tian Y, Zhou J, Diao X, Cao B, Pan S, et al. Psychological Status and Influencing Factors of Hospital Medical Staff During the COVID-19 Outbreak. Frontiers in psychology. 2020;11(1):1841.
Kisely S, Warren N, McMahon L, Dalais C, Henry I, Siskind D. Occurrence, prevention, and management of the psychological effects of emerging virus outbreaks on healthcare workers: rapid review and meta-analysis. BMJ. 2020;369:m1642.
Motahedi S, Aghdam NF, Khajeh M, Baha R, Aliyari R, Bagheri H, et al. Anxiety and depression among healthcare workers during COVID-19 pandemic: A cross-sectional study. Heliyon. 2021;7(12):e08570.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในโรงพยาบาลฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง