ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลระยะท้ายต่อการรับรู้ระยะท้ายของชีวิตที่สงบของผู้ดูแลผู้ป่วยระยะท้าย โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว โดยวัดผลก่อนและหลังการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลระยะท้ายต่อการรับรู้ระยะท้ายของชีวิตที่สงบของผู้ดูแลป่วยระยะท้าย กลุ่มตัวอย่างผ่านการคัดเลือกแบบการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีจับสลาก ประกอบด้วยผู้ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการดูแลระยะท้ายที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามกรอบแนวคิดทฤษฎีระยะท้ายของชีวิตที่สงบของรูแลนด์และมอร์ โดยใช้โปรแกรมการดูแลระยะท้ายกับผู้ป่วยจำนวน 7 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ครั้งละ 45-60 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) ชุดแบบประเมินการรับรู้ระยะท้ายของชีวิตที่สงบ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (pair t - test) ผลการศึกษาพบว่า พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ระยะท้ายของชีวิตที่สงบและค่าเฉลี่ยคะแนนความ พึงพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมการดูแลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < 0.01)
Downloads
References
Ruland, C. M., & Moore, S. M. Theory Construction Based on Standards of Care: A Proposed Theory of the Peaceful End of Life. Nursing Outlook. 1998; 46(4): 169-75.
ศรีเวียง ไพโรจน์กุล. การสร้างเสริมสุขภาวะในระยะท้ายของชีวิตของประชาชนไทย. ในดุสิต สถาวร (บรรณาธิการ), สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย : Who Cares? We Do! (น. 1-9). กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด ; 2557.
ฐิติมา โพธิ์ศรี. การดูแลแบบประคับประคอง สำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต : จากโรงพยาบาลสู่บ้าน. [รายการการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2550.
สถาพร ลีลานันทกิจ. หลักการสำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง. ใน อำพล จินดาวัฒนะ, แสวง บุญเฉลิมวิภาส, ปิติพร จันทรทัต ณ อยุธยา, และ ไพศาล ลิ้มสถิต (บรรณาธิการ), ก่อนวันผลัดใบ หนังสือแสดงเจตนาการจากไปในวาระสุดท้าย (หน้า 23-25). กรุงเทพฯ: ทีคิวพี ; 2554.
อรพรรณ ไชยเพชร, กิตติกร นิลมานัต, และ วิภาวี คงอินทร์. ประสบการณ์ของพยาบาลไอซียูในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.วารสารสภาการพยาบาล 2554; 26(1):41-55.
The National Gold Standards Framework (GSF) Centre in End of Life Care. Prognostic Indicator Guidance (PIG). Gold Standards Framework Centre In End of Life Care CIC.[Internet].2011.[cited on March 22, 2023] Retrieved from http://www.goldstandardsframework org.uk /cd ontent/uploads/files/General%20Files/Prognostic%20Indicator%20
Guidance% 20October%202011.pdf
American Psychological Association. Fact Sheet on End-of-Life Care: What are older adults' mental health needs near the end of life? [Internet].2012. .[cited on March 22, 2023] Retrieved from http://www.apa.org/pi/aging/programs/eol/end-of-life-factsheet.pdf
วาสินี วิเศษฤทธิ์.การสื่อสารและการให้การปรึกษาผู้ป่วยในระยะสุดท้ายและครอบครัว. ใน: ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ . คู่มือการพยาบาลแบบประคับประคองแบบพกพา. เชียงใหม่: Good Work Media;2559. หน้า27-38.
บุญทิวา สู่วิทย์, สุณี เวชประสิทธิ์, เบญญาภา มุกสิริทิพพานัน. การประเมินอาการที่ก่อให้เกิดความ ทุกข์ทรมานในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2558:153-63.
ประคอง กรรณสูต.สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2542.
เพ็ญนภา ตองติดรัมย์. ผลของการใช้รูปแบบการพยาบาลเจ้าของไข้ต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งและความพึงพอใจในงานของพยาบาล. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต] กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร;2549.
Spector,P.E. Job satisfaction:Application,assessment,cause and consequences. California: Sage Publications ; 1997.
พัชรีรัตน์ อันสีแก้ว.ผลของโปรแกรมการดูแลระยะท้ายต่อผลลัพธ์การดูแลแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้ายของชีวิตที่สงบในผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์;2561.
ธาริณี เพชรรัตน์และคณะ.ความต้องการการดูแลของผู้ป่วยระยะสุดท้ายในแผนกการพยาบาลศัลยกรรมและออร์โธปิดิกส์.ขอนแก่น: โรงพยาบาลศรีนครินทร์;2560.
อรวิธู กาญจนจารี, ยุพาพิน ศิรโพธิ์งามและสุปรีดา มั่นคง. บทบาทและความต้องการของผู้ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในสถานบริการที่มีการดูลแบบประคับประคองโดยเฉพาะ. Ramathibodi Nursing Journal. 2017; 23(3): 328-43.
สาวิตรี มณีพงศ์. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย หอผู้ป่วยเวชบำบัดวิกฤตอายุรกรรม แผนกการพยาบาลอายุรกรรม.พัทลุง: โรงพยาบาลศรีนครินทร์;2551.
สรัญญา กุมพล. การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการ ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบมีส่วนร่วมตามแนววิถีพุทธในบริบทวัฒนธรรมอีสาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 2555; 31(5):179- 201.
ดรรชนี สินธุวงศานนท์.บูรณาการการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม ในพระพุทธศาสนาเถรวาท.วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 2558; 21(1):54-64.
ปัณณธร รัตนิล และจิราพร เกศพิชญวัฒนา. ผลของการดูแลทางจิตวิญญาณเชิงพุทธต่อความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็งระยะสุดท้าย. วารสารพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2559; 28(3):31-43.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการและการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช เล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยฯ และคณาจารย์ท่านอื่นในวิทยาลัย ฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่อง เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว