ปัจจัยเสี่ยงในการผ่าตัดรักษาผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุ (Peptic Ulcer Perforation): รายงานการศึกษา 2 ปี ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Main Article Content

สายลักษณ์ พิมพ์เกาะ
ชัยวัฒน์ ปาลวัฒน์วิไชย

บทคัดย่อ

บทนำ: แผลเป็บติกทะลุ (Peptic ulcer perforation) เป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคกระเพาะอาหารที่พบบ่อย ยังคงเป็นปัญหาสำคัญ และน่าสนใจสำหรับศัลยแพทย์อยู่เสมอ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษา morbidity, mortality และ operative risk factor ของผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุที่ได้รับการผ่าตัดรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ผู้ป่วยและวิธีการ: ได้ศึกษาเชิงวิเคราะห์ชนิดย้อนหลังในผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุทั้งหมดจำนวน 359 ราย ที่ได้รับการผ่าตัดรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2543 ถึง 31 ธันวาคม 2544 ผลการศึกษา: พบมีภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดร้อยละ 15.6 โดยส่วนใหญ่เป็นปัญหา wound complication ร้อยละ 7.2 และ pulmonary complication ร้อยละ 7.0 และมีอัตราการเสียชีวิตร้อยละ 6.4 โดยมีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดทั้งภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิต ได้แก่ เพศหญิง อายุมากกว่า 60 ปี ระยะจากมีอาการจนถึงผ่าตัด (duration of perforation) มากกว่า 48 ซม. และ preoperative shock ในขณะที่ตำแหน่งแผลทะลุที่เป็น gastric ulcer จะมีภาวะแทรกซ้อนมากว่า duodenal ulcerแต่ไม่แตกต่างกันในเรื่องอัตราการเสียชีวิต และการทำ definite procedure มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นไม่แตกต่างไปจากการทำ simple suture แต่ simple suture กลับมีอัตราการเสียชีวิตมากกว่า สรุป: ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดทั้งภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตที่ชัดเจน ได้แก่ เพศหญิง อายุมากกว่า 60 ปี ระยะเวลาจากมีอาการจนถึงผ่าตัดมากกว่า 48 ซม. และ preoperative shock ในขณะที่ตำแหน่งแผลทะลุที่เป็น gastric ulcer จะมีภาวะแทรกซ้อนมากกว่า duodenal ulcer แต่ไม่แตกต่างกันในเรื่องอัตราการเสียชีวิต ส่วนในการทำ definite procedure นั้นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นไม่แตกต่างไปจากการทำ simple suture

Article Details

How to Cite
พิมพ์เกาะ ส., & ปาลวัฒน์วิไชย ช. (2024). ปัจจัยเสี่ยงในการผ่าตัดรักษาผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุ (Peptic Ulcer Perforation): รายงานการศึกษา 2 ปี ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 26(2), 99–106. สืบค้น จาก https://he04.tci-thaijo.org/index.php/MNRHJ/article/view/2164
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

De Orio AJ, Greenley HB. Peptic ulcer surgery.Surg Clin North Am 1977;57:1155-71.

Kurata JH, Haile BM, Elashoff JD. Sex difference in peptic ulcer disease. Gastroenterology 1985;88:96-100.

Mulholland MW, Debas HT.Chronic duodenal and gastric ulcer. Surg Clin North Am 1987;67:489-507.

Paffenbarger R. Wing A, Hyde R. Chronic disease in former college students. XII early precursors of peptic ulcer. Am J Epidermol 1974;100:307-15.

Freiman GD, Siegulaub AB, Selizer CC. Cigarette, alcohol, coffee and peptic ulcer. N Engl J Med 1974;290:469-73.

Moody FG, Miller TA, Stomach. In: Schwartz Sl, Shire GT, Spencer FC, Husser W'C, editors. Principle of surgery. 6th ed. New York: McGraw-Hill; 1994. 1123-51.

Conter RL, Kauffman GL. Duodenal ulcer. In: Cameron JL, editor. Current surgical therapy. Xth ed. Luis, Missouri: Mosby; 1995. p. 60-7.

ชาญวิทย์ ตันดิพัฒน์. Current status for therapy of peptic ulcer disease. ใน: อวยชัย เปลื้องประสิทธ์, สุพงษ์ เขมโฆษิต, ฉัตรชัย สุนทรธรรม,วัฒนา สุพรหมจักร, บรรณาธิกาธิการ.ศัลยศาตรวิวัฒน์ (19). กรุงเทพฯ: เรือนแก้ว; 2543. หน้า 96-100

อุดม คชินทร. Helicobactor pylori and peptic ulcer discase. คลินิก 2538;11:258-63.

Watkins RM, Dennison AR, Collin J. What has happened to perforated peptic ulcer? Br J Surg 1984;71:774-6.

ยุษฐิสถิระ ภิรมย์ภักดิ์. Definitive treatment of peptic ulcer perforation. สรรพสิทธิเวชสาร 2533;11:5-10.

Negre J. Perforated peptic ulcer in elderly patients. Lacet 1985:2:118-9.

Scheenes DE, Dekryger LL, Dean RE. Surgical treatment of peptic ulcer disease before and after introduction of H2-blockers. Am Surg 1987;7:392-5.

Svanes C, Salvesen H, Stangeland L, etal. Perforated peptic ulcer over 56 years. Timetrends in patients and disease characteristics. Gut 1993;34:1666-71.

Donovan AJ, Vinson TL, Maulsby GO, et al. Selective treatment of duodenal ulcer perforation. Ann Surg 1979; 189:627-36.

Berme TV, Donovan AJ. Nonoperative treatment of perforated duodenal ulcer. Arch Surg 1989;124:830-2.

Keane TE, Dilon B. Afdhal NH, et al. Conservative management of perforation duodenal ulcer. Br I Surg 1988;75: 583-4.

เพชร เกษตรสุวรรณ, สมชาย ธนะสิทธิชัย, วันชัย ไกรลาศศิริ. An impact of Helicobactor pylori eradication after simple closure of perforated peptic ulcer: prospective randomized trial. เเพทยสารทหารอากาศ 2544;47:17-27.

Cineviva R,de Castro-e-Silva OJ, Castelfranchi PL, et. Simple sutured with or without proximal gastric vagotomy for perforated duodenal ulcer. Br J Surg 1986;73:427-30.

Tanphiphat C, Tanprayoon T, Na Thalang A.Surgical treatment of perforated duodenal ulcer: a prospective trial between simple closure and definitive surgery. Br J Surg. 1985;72:370-2.

Irvin TT. Mortality and perforated peptic ulcer: a case for risk straticationin elderly patients.Br J Surg 1989-2.215-8.

Boey J, Choi S.K.Y, Alagnatnam TT, et al: Risk stratication in perforated duodenal ulcer. Ann Surg 1987:206-6.

Boey J, Wong J. A prospective study of operative risk factors in perforated duodenal ulcer. Ann Surg 1982;195:265~9.

Chou NH, Mok KT, Chang HT, et al. Risk factor of mortality in perforated peptic ulcer. Eur J Surg 2000:149-53.

ธรรมนูญ วานิชะพงศ์, สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล. แผลเป็บติคทะลุ: กลุ่มเสี่ยงที่หน้าจับตามอง การศึกษาข้อนหลัง 5 ปี. วชิรเวชสาร 2533;34:9-13.

ชวลิต ลิปวิทยากุล. แผลเป็บติคทะลุ. การศึกษาผู้ป้วย 642 รายในเวลา 5 ปี ณ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์. สรรพสิทธิเวชสาร 2533;11:135-54.

Silakivi T, Lang A, Tein A, et al. Evaluation of factor for mortality in surgically treated perforated peptic ulcer. Hepatogastroenterology 2000;47:1765-8.

Svanes C, Lie RT, Svanes k, et al. Adverse effects of delayed treatment for perforated peptic ulcer. Ann Surg 1994; 220:168-75.

Hamby LS, Zweng TN, Strodel WE. Perforated gastric and duodenal ulcer: an analysis of prognostic factors. Am Surg 1993;59:319-24.

Maynard A de L, Froix CJL, Oropez G.Gastroduodenal perforation. Arch Surg 1968;97:96-104.

Smith L, Beehan PJ. Definitive operations for perforated duodenal ulcers. Surg Gynecol Obstet 1969;129:465-9.

Griffin GE, Organ CH Jr. The natural history of the perforated duodenal ulcer treated by sutured plication. Ann Surg 1976;183:382-5.

Gray IG, Roberts AK. Definitive emergency treatment of perforated duodenal ulcer. Surg Gynecol Obstet 1976; 143: 890-4.