การรอดชีพของผู้ป่วยมะเร็งกล่องเสียง ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
: ผู้รายงานได้ศึกษาผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งกล่องเสียงที่มารับการตรวจและรักษาตัวที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่างปี พ.ศ. 2535 – 2542 พบมีผู้ป่วยทั้งหมด 133 ราย อายุ 30-84 ปี เฉลี่ย 63 ปี เป็นชายมากกว่าหญิง โดยมีอัตราส่วน 11 : 1 ตำแหน่งที่พบมะเร็งคือ supraglottic, glottis, subglottic และ transglottic เท่ากับร้อยละ 33.8, 18.8, 1.5 และ 45.9 ตามลำดับ ระยะของมะเร็งพบระยะที่ 1, 2, 3 และ 4 เท่ากับร้อยละ 14.3, 12.8, 44.3 และ 28.6 ตามลำดับ ระยะรอดชีพ 5 ปี ของผู้ป่วยทั้งหมดพบร้อยละ 53.7 ระยะรอดชีพ 5 ปี ของผู้ป่วยที่พบมะเร็งตามตำแหน่ง supraglottic, glottis, subglottic และ transglottic พบร้อยละ 40.6, 55.5, 0 และ 63.7 ตามลำดับ ระยะรอดชีพ 5 ปี ของผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ในระยะที่ 1, 2, 3 และ 4 พบร้อยละ 66.3, 55.0,57.2 และ 42.0 ตามลำดับ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Deerasamee S, Martin N, Sontipong S,et al. Cancer in Thailand. Vol II, 1992-1994: IARC Technical Report No 34: Lyon;1999:34-5.
Thawley SE, Cysts and Tunors of the Larynx. In: Paparella MM, Shumrich DA, Geuckman JL, Meyerhoft WL, editors. Otolaryngology. Vol 3. 3rd ed. Philadelphia: WB Saunders; 1991. p. 2314-65.
ทำเนียบโรงพยาบาล และสถิติสาธารณสุข 2543-2544. กรุงเทพ: อัลฟา รีเสิร์ช; 2543.
คงฤทธิ์ สุขานุศาสน์, ระบาดวิทยาของโรคมะเร็ง หู คอ จมูกช่องปากและกล่องเสียง ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา. เวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 2539; 20: 215-21.
อภิชัย วิธวาศริ, อภินันท์ ณ นคร, อภิชาติ บูรณะวังศิลา, พิชัย หัวเพิ่มพูลศิริ, สุนันทา พลปัถพี, โชครัย เมธีใตรรัตน์. Cancer of larynx in laryngology clinic, Siriraj Hospital. วารสารหู คอ จมูก และใบหน้า 2530; 2: 3-9.
ยุพา สุมิตสวรรค์, กอบเกียรติ รักเผ่าพันธ์, มานิตธ์ ศัตรูลี้. มะเร็งกล่องเสียงในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. เชียงใหม่เวชสาร 2528; 24: 25-31.
ดรุณีชุณหะวัต, ยุวดี ฦาชา, สุวิมล สันติสุขธนา. ลักษณะของผู้ป่วยมะเร็งกล่องเสียงและการปรับตัวภายหลัง ได้รับการผ่าตัดเอากล่องเสียงออกทั้งหมด. รามาธิบดีเวชสาร 2533: 3: 105-10.
Suzuki H, Hasegawa T, Sano R, Kim Y. Results of treatment of laryngeal cancer. Acta Oto (Stockh) 1994;Suppl 511:186-91.
Tanpawpong K, Janjarratsin O. Leopairat I Laryngeal Carcinoma in Childern: a case report. วารสาร หู คอ จมูกเเละใบหน้า 2536; 8: 79-84.
พวงทอง ไกรพิบูลย์, วิรัตน์ ไพรัชเวทย์, สมใจ เกียรติกำจาย ขจร, ประพจน์ คล่องสู้ศึก, บุญชู กุลประดิษฐารมย์. ผลการรักษามะเร็งกล่องเสียงส่วน glotis ระยะ T M, ด้วยรังสี. วารสารโรคมะเร็ง 2534;17:1-5.
Pera E, Moreno A, Galindo L. Prognostic factors in pharyngeal carcinoma Cancer 1986; 5:928-34.
Manni IJ, Terhaard CH, Boer MF, Croll GA, Hiigers FJ, Annyas AA, Meij AG, Hordijk GJ. Prognostic factors for survival in patients with T3 laryngeal carcinoma. AMJ Surg 1992;164:682-7.
Raitiola HS, Pukander JS. Etiological factors of laryngeal cancer. Acta Otolaryngol (Stockh) 1997; Suppl 529:215-7.
Stefani E,Correa P, Oreggia F, et al. Risk factors for laryngeal cancer. Cancer 1987;60:3087-91.
สิริศักดิ์ ภูริพัฒน์, ชวนพิศ บุณธะรัตเวช, ศิณีนาฐ สนธิพงษ์, พิสิษฐ์ พันธุมจินดา.ความสัมพันธ์ระหว่างมะเร็งของบริเวณ ศีรษะและคอกับการสูบบุหรี่. วารสารโรคมะเร็ง 2531;14: 159-64.
Simarak S, de Jong UW, Breslow N, ct al. Cancer of the oral cavity, pharynx and Jung in North Thailand: case control study and analysis of cigar smoke. Br J Cancer 1977; 36:130-40.
Pradier R, Gonzalez A, Matos E, et et Prognostic factors in laryngcal carcinoma. Cancer 1993;71:2472-6.
Boffetta P, Merleti F, Faggiano F, ot al. Prognostic factors and survival of laryngeal cancer patients from Turin, Italy. AMJ Epidemiol 1997;145:1100-5.
Eiband JD, Elias EG, Suter CM, Gray WC, Didolkar MS. Prognostic factors in squamous cell carcinoma of the larynx. Am J Surg 1989;158:314-7.
โชคชัย เมธีไตรรัตน์,จีระสุข จงกลวัฒนา. Neamotal pharymgoctomy: Siriraj experience. วารสารหู คอ จมูก เเละใบหน้า 2535;7:63-71.
Price La, Shaw HJ, Hill BT. Larynx preservation after initial non-cisplatin containing combination chemotherapy plus radiotherapy, as opposed to surgical intervention with or without radiotherapy in previously untreated advanced head and neck cancer: final analysis after 12 years follow up. Jaryngol Otol 1993;107:211-6.
Barra S, Talamini R, Proto E, Bidoli E, Puxeddu P, Fronceschi S. Survival analysis of 378 surgically treated cases of laryngeal carcinoma in South Sardinia. Cancer 1990;65: 2521-7.
Blair EA, Head and neck cancer, the problem. Clin Plast Surg 1994;21:1-7.
นงพงา สุวัฒนนันท์. Cancer education in Thailand วารสารโรคมะเร็ง 2537; 20:77-80.