การประยุกต์ใช้คลาวด์คอมพิวติงเพื่อการศึกษาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • อมรพงศ์ สุขเสน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

คลาวด์คอมพิวติง, การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, โปรแกรมประยุกต์, การจัดการเรียนรู้

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการนำเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติงมาประยุกต์ใช้กับเพื่อการศึกษา ทั้งด้านสื่อการจัดการเรียนรู้ และด้านการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้สังคมโลกตื่นตัวกับการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยคลาวด์คอมพิวติงเป็นรูปแบบการให้บริการดิจิทัล โดยใช้ระบบการประมวลผลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทำให้สามารถเข้าใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งประโยชน์จากการนำเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติงมาใช้นี้ นอกจากจะเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเข้าใช้บริการผ่านการสร้างความเชื่อมโยงด้วยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีความสะดวก และรวดเร็ว อีกทั้งเป็นการพัฒนาความรู้ ทักษะ
และความสามารถของผู้เรียนเพื่อส่งเสริมให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างปลอดภัย และมีความสุข

References

Neto, M. D. (2014). A brief history of cloud computing. https://www.ibm.com/blogs/cloud-

computing/2014/03/18/a-brief-history-of-cloud-computing-3/

Koona S. K. (2021). History and Evaluation of Cloud Computing. https://www.c-

sharpcorner.com/article/history-and-evaluation-of-cloud-computing/

Mathew S. (2012). Implementation of Cloud Computing in Education – A Revolution. International

Journal of Computer Theory and Engineering, 4(3), 473-475.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับอัพเดท).

https://www.moe.go.th/backend/wp-content/uploads/2020/10/1.-พระราชบัญญัติการศึกษา

แห่งชาติ-พ.ศ.2542-ฉ.อัพเดท.pdf

กฤตย์ษุพัช สารนอก. (2562). การออกแบบรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิง (IoT) ร่วมกับ

การเรียนรู้จากคลาวด์คอมพิวติงเพื่อเสริมการเรียนรู้อย่างมีความหมาย สำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา.

วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 12(1), 92-102.

จุฑามาศ พีรพัชระ, สุวรรณ ประทีป ณ ถลาง, รุจิรา จุ่นบุญ, และธภัทร อาจศรี. (2564). การพัฒนาสื่อดิจิทัลอาหาร

จากกล้วยเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 9(1), 42-53.

จักรพงษ์ ตระการไทย. (2564). การดำเนินการงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษายุคดิจิทัล.

วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 21(1), 41-49.

ทนงศักดิ์ ใจชื่นแสน. (2559). การพัฒนาการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านระบบ

คลาวด์คอมพิวติ้ง เรื่อง ตะไบและการต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี.

วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 15(2), 26-32.

เนตรธิดา บุนนาค. (2565). SDG Vocab | 12 – Education for Sustainable Development – การศึกษาเพื่อการ

พัฒนาที่ยั่งยืน (ESD). https://www.sdgmove.com/2021/05/29/sdg-vocab-12-education-for-

sustainable-development/

พลเดช พิชญ์ประเสริฐ. (2562). การพัฒนาระบบงานพัสดุผ่านคลาวด์คอมพิวติ้งโรงเรียนโพธิ์ธาตุประชาสรรค์ สังกัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น,

(1), 102-109.

มธุรส ผ่านเมือง. (2563). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการยอมรับเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งของนักศึกษา

ระดับอุดมศึกษา. วารสารวิทยาการจัดการ, 7(2), 350-368.

มนต์ชัย เทียนทอง. (2561). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนในยุค Education 4.0.

วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 28(3), 489-491.

รุ่งทิพย์ แซ่แต้. (2562). การพัฒนาระบบการสอนแบบโครงงานเป็นฐานบูรณาการกับเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งเพื่อ

พัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของนิสิตครู มหาวิทยาลัยทักษิณ.

วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 7(2), 118-152.

วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. (2559). อินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง (Internet of Things) กับการศึกษา. วารสารวิชาการนวัตกรรม

สื่อสารสังคม, 4(2), 83-92.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2551). Foresight research: โดยการสังเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์จาก

ผลงานวิจัยสาขาเทคโนโลยีอุบัติใหม่. กลุ่มกิจการพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ วช.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2565). ETDA พาสำรวจ 5 ประเทศต้นแบบรัฐบาลดิจิทัล

พัฒนา e-Government สร้างบริการสุดล้ำเพื่อประชาชน. https://www.etda.or.th/th/Useful-

Resource/5e-Government.aspx

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554. https://dictionary.orst.go.th/

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13

(พ.ศ.2566-2570). https://www.nesdc.go.th/download/Plan13/Doc/Plan13_Final.pdf

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2562). การศึกษาภควันตภาพ : เรียนได้ทุกหนทุกแห่งและทุกเวลา. ส. ปาเฮ.

องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ. (2561). Issues and trends in education for

sustainable development; Education on the move. https://bic.moe.go.th/images/

stories/ESD1.pdf

องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ. (2563). Education for sustainable

development: a roadmap. https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000374802

อนิรุทธ์ สติมั่น. (2561). นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร. โครงการตำราและเอกสารทางวิชาการ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อุทิศ บำรุงชีพ. (2563). การพัฒนารูปแบบห้องเรียนกลับทางผ่านกูเกิลคลาวด์คอมพิวติงและสื่อสังคมเพื่อส่งเสริม

ทักษะวิถีแห่งการคิดในศตวรรษที่ 21 สำหรับนิสิตครู. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 8(4), 1552-1556.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31