การท่องเที่ยวฮาลาลของไทยในโอกาสหลังวิกฤตโควิด 19

ผู้แต่ง

  • บัญญัติ ทิพย์หมัด นายกสมาคมสื่อมวลชนไทยมุสลิม
  • มนูญ โต๊ะอาจ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเมธารัถย์

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยว, ฮาลาล, โควิด 19

บทคัดย่อ

การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้ประเทศไทยสร้างรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลง การเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่ๆ ในทุกกลุ่มนักเที่ยวที่มาจากประเทศต่างๆจะมีนักท่องเที่ยวที่เป็นชาวมุสลิมร่วมอยู่ด้วยรวมถึงนักท่องเที่ยวที่มาจากประเทศมุสลิมโดยตรง โดยเฉพาะอย่างการฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศซาอุดีอาระเบียส่งผลเชิงบวกอย่างมากต่อการพลิกฟื้นการท่องเที่ยวของไทย ที่มีกำลังซื้อโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากประเทศมุสลิมมีแนวโน้มเดินทางท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งการเดินทางกับกลุ่มเพื่อน การเดินทางคนเดียว และการเดินทางกับครอบครัว ซึ่งส่วนมากนิยมเดินทางด้วยจุดประสงค์เพื่อ การพักผ่อน การสัมผัสประสบการณ์และวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นประเด็นหนึ่งที่รัฐบาลควรให้ความสนใจโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยววิถีฮาลาล (Halal Tourism) เป็นหนึ่งในประเภทการท่องเที่ยวที่มีการเติบโตและได้รับความสนใจจากหลาย ๆ ประเทศที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของโลก การที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวมุสลิมให้เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยผู้ประกอบธุรกิจุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในวิถีชีวิตของชาวมุสลิมตามหลักการของศาสนาอิสลาม เพื่อจะได้ผลิตสินค้าหรือบริการได้อย่างตรงตามความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวมุสลิม

References

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา, เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวของไทย ปี พ.ศ. 2562, วันที่ค้นข้อมูล 5 ธันวาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.mots.go.th/news/category/585

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล (2565 ก), ซาอุดิอาราเบีย-ไทย, วันที่ค้นข้อมูล

ธันวาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/51776

สํานักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา. (2562), การจัดทำบัญชีประชาชาติด้านการท่องเที่ยว,วันที่ค้นข้อมูล 4 ธันวาคม 2565, https://www.mots.go.th/download/article/article_20211001101334.pdf

ทักษิณา แสนเย็น, ธนะพัฒน์ ศิริจารุอนันต์, อาภาภรณ์ หาโส๊ะ และ สุชาติ ค้าทางชล, 2561, แนวโน้มตลาดอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว อย่างเป็นมิตรด้วยวิถีมุสลิม, Journal of Pacific Institute of Management Science, 4(3), p286-297

Din, K. (1989). Islam and tourism: Patterns issues and options. Annals of Tourism Research,

(4), 542-563.

El-Gohary, H. (2016). Halal tourism, is it really Halal. Tourism Management Perspectives, 19, 124-130.

Henderson J. C. (2010). Chapter 6: Islam and tourism. In N. Scott & J. Jafari (Eds), Bridging Tourism Theory and Practice (pp. 75-89). Bingley: Emerald Group Publishing.

Islam, A. & Kärkkäinen, L. (2013). Islamic tourism as a prosperous phenomenon in Lapland.

Degree Programme In Tourism, University of Applied Sciences. Retrieved from https://core.ac.uk/download/pdf/38095923.pdf

Laderlah, S. A., Rahman, S. A., Awang, K., & Man, Y. C. (2011). A study on Islamic tourism: A Malaysian experience. In 2011 2nd International Conference on Humanities, Historical and Social Sciences (Vol. 17, pp. 184-189). Singapore: Iacsit Press.

MasterCard & Crescentrating. (2022). Global Muslim travel index 2022. Retrieved from https://www.crescentrating.com/reports/global-muslim-travel-index-2022.html

Namin, A. A. T. (2013). Value creation in tourism: An Islamic approach. International Research

Journal of Applied and Basic Sciences, 4(5), 1252-1264.

Nursanty, E. (2013). Halal tourism, new product in Islamic leisure tourism and architecture. Degree Program in Tourism, University of Applied Sciences. Retrieved from https://www.academia.edu/2218300/Halal_Tourism_The_New_Product_In_Islamic_L%20eisure_Tourism_And_Architecture

Pew Research Center. (2011). The future of the global Muslim population: Projections for

-2030. Retrieved from https://www.pewresearch.org/religion/2011/01/27/the-future-of-the-global-muslim-population/

Stephenson, M. L. (2014). Deciphering ‘Islamic hospitality’: Developments, Challenges and Opportunities. Tourism Management, 40: 155-164.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31