ภาวะผู้นำดิจิทัลในองค์กรทางการศึกษาในยุคพลิกผันและโลกแห่งความผันผวน

ผู้แต่ง

  • Rattanan Rodthong -Western University

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำดิจิทัล, ยุคพลิกผัน, โลกแห่งความผันผวน

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันโลกเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วสู่โลกแห่งดิจิทัล เทคโนโลยีก้าวกระโดด(Disruptive Technology)ทำให้โลกก้าวสู่ยุคแห่งความพลิกผัน (Disruptive Era) นอกจากนี้ยังเกิดโลกแห่งความผันผวน (VUCA World) ซึ่งประกอบด้วย V-Volatility ความผันผวนแบบตั้งตัวไม่ทัน U-Uncertainty ความไม่แน่นอน คาดเดาไม่ได้          C-Complexity ความซับซ้อนและความสลับซับซ้อนเชิงระบบ A-Ambiguity ความคลุมเครือไม่ชัดเจน(Johansen, 2017) อย่างไรก็ตามมนุษย์และการทำงานเป็นทีมยังมีความสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรที่มีเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น การสร้างแรงจูงใจ และเพื่อนรวมงานที่มีอิทธิพลในการชักจูงเพื่อนร่วมงานคนอื่นให้ทำงานให้สำเร็จ หรือ สิ่งที่เรียกว่า ภาวะผู้นำ(Leadership) ซึ่งอาจจะเป็นผู้ที่ไม่มีตำแหน่งทางการบริหารก็ได้ แต่ถ้าผู้บริหารมีภาวะผู้นำที่ดียิ่งทำให้องค์กรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง

          สำหรับการบริหารการศึกษาในยุคแห่งการผลิกผัน และ โลกแห่งความผันผวนนั้นจำเป็นต้องอาศัยผู้นำโดยเฉพาะผู้นำทางด้านการศึกษาในยุคแห่งการผลิกผัน และ โลกแห่งความผันผวน ที่มีความรู้ ความสามารถในด้านงานวิชาการ และเทคโนโลยี การปรับเปลี่ยนการการบริหารการศึกษาให้สอดคล้องกับยุคแห่งการผลิกผัน และ โลกแห่งความผันผวน เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์และบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำทางด้านการศึกษามีความสำคัญในการนำพาองค์กรทางการศึกษาให้ก้าวหน้าและประสบความสำเร็จ ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม(Innovative Leadership) เป็นภาวะผู้นำที่เหมาะกับองค์กรทางการศึกษาในยุคพลิกผันและโลกแห่งความผันผวน

References

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2564). Next Normal การปฏิรูประบบราชการไทยhttps://www.youtube.com/watch?v=7gQ_pNmxPIo

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2563). การพลิกโฉมระบบการศึกษาเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ. สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.). 2562. http://www.opdc.go.th/index.php

เอกรัตน์ เชื้อวังคำ, วัลลภา อารีรัตน์. 2564. องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4. การประชุมผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 24 มีนาคม 2564 มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Cordeiro, P., Cunningham, W. (2014). Educational Leadership: A Bridge to Improved Practice. Pearson New International Edition, Fifth Edition.

Fernández, M., 2004. Digital culture.

http://search.proquest.com.ezproxy.une.edu.au/docview/212110224?accountid=17227

Gere, C. (2002). Digital culture. Reaktion Books, London Publication.

Hawley, C.,2009. Overcome the Generation Gap: Managing the Older Employee: Communicate, Motivate, Innovate. Published by Adam Business, United States. http://books.google.co.th/books?id=fYX2bBSMW3kC&printsec=frontcover#v=onepage&q&f=false

Johansen B (2017). The New Leadership Literacies. Barrett-Koehler Publisher, Germany.

Northouse. (2013). Leadership: Theory and Practice. London: Western Michigan University.

Schein, E., Schein, P. (2016). Organizational Culture and Leadership. Publisher John Wiley & Sons Inc. Publication. New York, United States.

The ASEAN Post Team. (2018). How disruptive technologies are transforming Southeast Asia. https://theaseanpost.com/article/how-disruptive-technologies-are-transforming-southeast-asia

Van Bommel, T. (2021). The power of empathy in times of crisis and beyond. Catalyst. https://www.catalyst.org/reports/empathy-work-strategy-crisis/

World Economic Forum. (2021). These are the top 10 job skills of tomorrow – and how long it takes to learn them. https://www.weforum.org/agenda/2020/10/top-10-work-skills-of-tomorrow-how-long-it-takes-to-learn-them/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-19