The effect of the yoga program for health on the balance of the elderly In Nong Saeng Sub-district, Mueang Nakhon Phanom District Nakhon Phanom Province
Keywords:
ผู้สูงอายุ, การทรงตัว, ออกกำลังกายด้วยโยคะAbstract
Abstract
The purpose of this research was to study the effectiveness of an innovative yoga program on body balance among the elderly in Nong Saeng Subdistrict, Mueang, district, Nakhon Phanom Province by conducting a quasi-experimental research. The population was elderly aged 60 years and over in study area among 596 elderly population. The experimental sample size was 27 people systematically randomized. The research tools consisted of Yoga program consisted of 14 postures and balance testing by Time Up and Go Test and a satisfaction questionnaire. The research was conducted during May 2023. The results showed that Most of the subjects were female, aged 60-64 years old. Before the experiment, the average walking time from the balance test was 9.61 seconds. After the experiment, it decreased to an average of 8.82 seconds. Mean difference significance (-0.79, 95% CI= -1.40 - -0.180, p-value<0.01) and the satisfaction percent of participants was over 95%. Therefore, this program should be adapted as an alternative to promote balancing of the elderly in the community. Including expanding the experimental method to compare with other activities for further evaluate its effectiveness and efficiency.
Keywords: Elderly, Balance, Yoga exercise
Downloads
References
สมประวิณ มันประเสริฐ. การศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีต่อแบบแผนการบริโภคของครัวเรือนไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย; 2553.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2562. กรุงเทพมหานคร: พริ้นเทอรี่; 2563.
Dhargave, P. & Sendhilkumar, R. Prevalence of risk factors for falls among elderly people living in long-term care homes. J Clin Gerontol Geriatr. 2016;1–5.
Li, I.F., Hsiung, Y., Hsing, H.F., Lee, M.Y., Chang, T.H. & Huang, M.Y. Int J Gerontol. 2016;10(3):137–41.
ณภัทรธร กานต์ธนาภัทร, พรรณวรดา สุวัน, จุฑารัตน์ เสาวพันธุ์ กชนิภา ขวาวงษ์, ญาธิดา วุฒิศาสตร์กุลและวิยะดา ทิพม่อม. การรับรู้เกี่ยวกับการหกล้ม พฤติกรรมการป้องกันการหกล้ม และจำนวนครั้งของการหกล้มของผู้สูงอายุภายหลังการใช้แนวปฏิบัติการป้องกันการหกล้มแบบสหปัจจัยตามหลัก 10 ป. ของผู้สูงอายุในชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดอุดรธา. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลอุดรธานี. 2564;29(1):1–5.
สมลักษณ์ เพียรมานะกิจ, พัชรินทร์ พุทธรักษา, สุพิน สาริกาและวิไล คุปต์นิรัติศัยกุล. ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุในชุมชนอำเภออัมพวา. วารสารการพยาบาล. 2560;39(2):2–62.
Chow, S-C., Shao, J., Wang, H., Lokhnygina, Y. Sample Size Calculations in Clinical Research. 3rd ed. New York: Chapman and Hall/CRC; 2017.
จุฑาทิพย์ รอดสูงเนิน. ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายที่มีต่อการทรงตัวและความกลัวการล้มของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2564;15(38):154–60.
นรารักษ์ ไท ยประเสริฐ. ผลการฝึกโยคะและฝึกเดินบนตารางเก้าช่องที่มีต่อการทรงตัว ความแข็งแรง การกลัวการล้ม และคุณภาพการนอนหลับของผู้สูงอายุ [ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย]. นครนายก: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2562.
ธิติพงษ์ สุขดี และศิริวรรณ สุขดี. ผลของการฝึกด้วยโปรแกรมการเต้นลีลาศที่มีต่อการทรงตัวของผู้สูงอายุ. วารสารคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2558;1(2):1–10.
กนิษฐ์ โง้วศิริและกันยา นภาพงษ์. ผลของการออกกำลังกายดัวยฤาษีดัดตนประยุกต์ต่อการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก. 2564;22(1):176–85.
บุษกร คุ้มเกษ. ผลของการรำมวยไไทชิ (Tai Chi Chun) ในการเพิ่มประสิทะฺภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทย. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร. 2550;17(3):73–8.
ชฎาพร คงเพ็ชร์. การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาล. 2562;68(4):64–71.
Tihanyi, B., Boor, P. & Emanuelen, L. Mediators between Yoga Practice and Psychological Well-Being: Mindfulness, Body Awareness, and Satisfaction with Body Image. Eur J Ment Health. 2016;11(01–02):112–27.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Boromarajonani college of nursing, Chakriraj

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการและการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช เล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยฯ และคณาจารย์ท่านอื่นในวิทยาลัย ฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่อง เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว