เปรียบเทียบระยะเวลากลับไปทำงานหลังผ่าตัดริดสีดวงทวาร โดยวิธีการฉีดยาชาเฉพาะที่แบบผู้ป่วยนอกระหว่างการใช้อุปกรณ์ Stapled กับ วิธี closed (Ferguson)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทนำ ริดสีดวงทวารเป็นโรคที่พบได้บ่อย การใช้อุปกรณ์ Stapled ศึกษาครั้งแรกในปี พศ. 2536 ไม่เคยมีผู้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องระยะเวลากลับไปทำงานหลังผ่าตัดโดยใช้อุปกรณ์ Stapled ร่วมกับวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ วัตถุประสงค์เปรียบเทียบระยะเวลากลับ ไปทำงานหลังผ่าตัดริดสึดวงทวารโดยวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ระหว่างการใช้อุปกรณ์ Stapled กับวิธี closed (Ferguson) ผู้ป่วยและวิธีการ prospective purposive sampling ผู้ป่วยริดสีดวงทวารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา(พย.43-มีค.44) กลุ่มทดลอง (48 ราย) ใช้ อุปกรณ์ Stapled เทคนิคของ Longo A กลุ่มควบคุม (46 ราย) ผ่าตัดโดยวิธีดั้งเดิม ใช้วิธีฉีดยาชาเฉพาะที่แบบผู้ป่วยนอก เก็บข้อมูลพื้นฐาน ระยะเวลาผ่าตัด การปวดแผลหลังผ่าตัด (visual analog self-rating method) จำนวน paracetamol ใน 24 ชั่วโมงแรก (มีแบบบันทึกและ pill count) ภาวะแทรกซ้อน ระยะเวลากลับไปทำงานหลังผ่าตัด จำนวนผู้ป่วยที่กลับทำงานได้ภายใน 7 วัน (independent-blind evaluator) สถิติ ใช้ mean, SD, 95% CI Chi-square analysis with Yates correction หรือ Fisher's exact test ตามความเหมาะสม unpaired t-test(two tails) และ survival analysis ผลการศึกษาและวิจารณ์ การปวดแผลหลังผ่าตัดน้อยกว่าทางสถิติ ระยะเวลากลับไปทำงาน (3.9 วันกับ 9.1 วัน) และจำนวนผู้ป่วยที่ทำงานได้ภายใน 7 วัน (93.8% กับ 34.8%) แตกต่างทางคลินิกและสถิติ(P<0.001) แม้ว่าในการศึกษานี้ไม่ใช่เป็น RCT แต่กลุ่มที่ใช้อุปกรณ์ Stapled เป็นกลุ่มที่กลัวต่อความเจ็บปวด กลับให้ผลการศึกษาที่ดีกว่า สรุป การใช้วิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ในการผ่าตัดริดสีดวงทวารแบบผู้ป่วยนอก โดยใช้อุปกรณ์ Stapledมีระยะเวลากลับไปทำงานานน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางคลินิกและสถิติ เป็นทางเลือกใหม่ในการผ่าตัด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
วิทยา วัฒโนภาส.Common anorectal disorders. ใน: ณรงค์ ไวทยางกูล, ทองดี ชัยพานิช, เอาชัย กาญจนพิทักษ์, บรรณาธิการ.ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ 13. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร, 2538: หน้า 102-8.
Corman MI. Colon and rectal surgery. 2nd ed. Philadelphia: JB Lippincott, 1989:p49-105.
จำรัส ปัญจศิริ.การกำจัดจัดริดสีดวงทวารด้วยยา.สรรพสิทธิเวชสาร 2527;5:153-6.
Kodner IJ, Fry RD, Fleshman JW, Bimbaum EH, Read TE. Colon, Rectum, and Anus. In: Schwartz SI, Shires GT, Spencer FC, Daly JM, Fisher JE, Galloway AC, eds. Principle of surgery. 7th ed. New York: McGraw-Hill, 1999:p1295-8.
Cataldo PA, Mazier WP. Hemorrhoids. In: Cameron JL,ed. Current surgical therapy. 14th ed. St Louis: Mosby-Year Book, 1992:p219-222.
ปริญญา สันติชาติงาม, ณัฏฐ์ บุญนิธิ. การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม การผ่าตัดริดสีดวงทวารหนักเปรียบเทียบภาวะแทรกซ้อน urinary retention ของวิธีฉีดยาชาเฉพาะที่ แบบผู้ป่วยนอกเปรียบเทียบกับการฉีดยาชาเข้าไขสันหลังแบบผู้ป่วยใน. รายงานการวิจัยเสนอในการประชุมวิชาการสาธารณสุขเขต5 ครั้งที่ 2ประจำปี 2543. โรงแรมทองธารินทร์, สุรินทร์ ; 2543. 11-12 มิถุนายน 2543.
Longo A. Treatment of hemorrhiod disease by reduction of mucosa and hemorrhiodal prolapse with circular suturing device: a new procedure. Procedings of the 6 th World Congress of Endoscopic Surgery 1998, Rome, Italy, June 1998:p3-6.
Thomson WHF. The nature of haemorrhiods. Br J Surg 1956, 62: 542-52.
Levanon A, Biterman A,Behar A, Cohen O. Hemorrhoidectomy using a circular stapler. Harefuah 2000; 138:12-4.
Beattie GC, Lam JPH, Loudon MA. A prospective evaluation of the introduction of circumferential stapled anoplasty in management of haemorrhoids and mucosal prolapse. Colorectal disease 2000; 2:137-42.
Cheetham MJ, Mortensen NJM, Nystrom P-O, Kamm MA, Phillips RKS. Persistent pain and faccal urgency after stapled haemorrhoidectomy. Lancet 2000; 356: 730-3.
Roseau E. Hemorrhoids, classical surgery or mechanical endoanal excision. Presse Med 2000; 29:1005-6.
Molloy RG, Kingsmore D. Life threatening pelvic sepsis after stapled haemorrhoidectomy. Lancet 2000; 355:810.
Mehigan BJ, Monson JR, Hartley JE. Stapling procedure for haemorthoids versus Milligan-Morgan haemorrhoidectomy: randomised controlled trial. Lancet 2000;355:782-5.
Rowsell M, Bello M, Hemingway DM. Circumferential mucosectomy (stapled haemorrhoidectomy) versus conventional haemorrhoidectomy: randomized controlled trial. Lancet 2000; 355:779-81.
Kohlstadt CM, Weber J, Prohm P. Stapler hemorrhoidectomy-a new alternative to conventional methods Zentralbl chir 1999; 124:238-43.
Roveran A, Susa A, Patergnani M. Hemorrhoidectomy with circular stapler in advanced hemorrhoid pathology.G Chir 1998; 19:239-40.
Goldberg SM, Nivatvongs S, Rothenberger DA. In: Schwartz SI, Shires GT, Spencer, eds. Principle of surgery.6 th ed. New York: McGraw-Hill, 1994:1181-2.
Nivatvongs S. Local anesthesia in anorectal surgery. ใน: ธนิต วัชรพุกก์, จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ์, ทองดี ชัยพานิช, บรรณาธิการ. ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ 18. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:เจเอสเค การพิมพ์ 2542: หน้า85-91.
Nivatvongs S. An improved technique of local anesthesia for anorectal surgery. Dis Colon Rectum 1982;25:p259-60.
สมศรี เผ่าสวัสดิ์, วราภรณ์ ไวคกุล. Postoperative Pain Management. ใน: ประพันธ์ กิติสิน, พัฒนพงศ์ นาวีเจริญ, ทองดี ชัยพานิช, วัฒนา สุพรหมจักร, บรรณาธิการ. ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ 15. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร, 2540: หน้า 551-96.
Ho YH, Cheong WK, Tsang C, et al. Stapled hemorrhoidectomy-cost and effectiveness. Randomized, controlled trial including incontinence scoring, anorectal manometry, and endoanal ultrasound assessments at up to three months. Dis Colon Rectum 2000;43:
-75.
Boccasanta P, Capretti PG, Venturi M, et al. Randomised controlled trial between stapled circumferential mucosectomy and conventional circular hemorrhidectomy in advanced hemorrhoids with external mucosal prolapse. Am J Surg 2001; 182: 64-8.