การส่งบทความ

เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความ

รายการตรวจสอบก่อนส่งบทความ

ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด
  • บทความเรื่องนี้ยังไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ในระหว่างการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น (หากมีกรุณาอธิบายในข้อความถึงบรรณาธิการ)
  • บทความเตรียมในรูปแบบของไฟล์ Microsoft Word for Windows ใช้ TH Sarabun PSK ขนาด 14 บนกระดาษ A4 หน้าเดียว
    ความยาวทั้งบทความไม่ควรเกิน 15 หน้ากระดาษ A4
  • มีการให้ URLs ที่เข้าถึงได้ สำหรับเอกสารที่อ้างอิงจากอินเทอร์เน็ต
  • บทความพิมพ์แบบใช้ระยะห่างบรรทัดปกติ (single-spaced) ขนาดฟ้อนท์ตัวอักษร 14 pt(ในภาษาไทย) และ 14 pt(ในภาษาอังกฤษ) ใช้ตัวเอนแทนการขีดเส้นใต้สำหรับสังกัดผู้แต่ง (ยกเว้น ที่อยู่ URL) และ ระบุข้อมูล รูปวาด รูปภาพ และตาราง ในตำแหน่งที่เหมาะสม เป็นตามข้อกำหนดของวารสาร
  • บทความเตรียมตามข้อกำหนด ทั้งในด้านของรูปแบบและการเขียนเอกสารอ้างอิง ตามคำแนะนำสำหรับผู้แต่ง (Author Guidelines)
  • นิพนธ์ต้นฉบับ : ประกอบด้วย บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ บทนำ วัตถุประสงค์ระเบียบวิธี
    วิจัย ผลการวิจัย/ผลการทดลอง วิจารณ์ผล/อภิปรายผล สรุปผล ข้อเสนอแนะและเอกสารอ้างอิง ความยาวทั้ง
    บทความไม่ควรเกิน 15 หน้ากระดาษ A4
  • ชื่อบทความ/ผู้นิพนธ์
    มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งวุฒิการศึกษาและสถานที่ทำงาน
  • รูปแบบบทคัดย่อ
    เพื่อให้อ่านง่ายและเป็นรูปแบบเดียวกัน ให้มีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สรุปเนื้อหากะทัดรัด
    โดยมีหัวข้อ ดังนี้
    บทคัดย่อ: Abstract:
    วัตถุประสงค์: Objective:
    วิธีศึกษา: Methods:
    ผลการศึกษา : Results:
    สรุป: Conclusion:
    คำสำคัญ: Key words:
  • การอ้างอิงในเนื้อหา
    ใช้รูปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver Style) โดยให้ใส่ตัวเลขยกขึ้นตามลำดับของการอ้างอิง หลังชื่อผู้เขียน
    หรือหลังข้อความที่อ้างถึง และใช้เลขลำดับเดิมในกรณีที่มีการอ้างอิงซ้ำทุกครั้ง ส่วนเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม จัดเรียง
    ตัวเลขตามลำดับของการอ้างอิงในเนื้อหา
  • การอ้างอิงท้ายเล่ม
    เป็นการนำรายการอ้างอิงในเนื้อหามารวบรวมไว้ในส่วนท้ายของผลงานวิชาการภายใต้หัวข้อ เอกสารอ้างอิง
    (References) โดยจัดเรียงตัวเลขตามลำดับ 1, 2, 3, 4, 5,... ซึ่งตัวเลขต้องสอดคล้องกับลำดับตัวเลขของการอ้างอิง
    ในเนื้อหา ข้อมูลที่นำมาเขียนเอกสารอ้างอิงจะแตกต่างกันตามประเภทของเอกสารที่นำมาอ้างอิง
  • ต้องไม่ส่งตีพิมพ์เผยแพร่หลายแห่ง
  • เนื้อหาในบทความทุกบทความอยู่ในความรับผิดชอบหลักของผู้นิพนธ์กองบรรณาธิการมีหน้าที่เพียงส่วนหนึ่ง
    ของกระบวนการตีพิมพ์และเผยแพร่
  • ส่งทาง E-mail โดยส่งต้นฉบับในรูปแบบไฟล์ word และ PDF ระบุสถานที่ติดต่อ, E-mail และเบอร์โทรศัพท์ของผู้นิพนธ์มาอย่างชัดเจน
  • มีเอกสารรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (EC) พร้อมทั้งแนบหลักฐาน
  • กองบรรณาธิการจะรวบรวมบทความวิชาการ/บทความวิจัยส่งตีพิมพ์เมื่อมีจำนวนผู้ขอลงครบแล้ว
    การตีพิมพ์จะใช้เวลาประมาณ 30 – 60 วัน เมื่อได้ไฟล์เล่มยโสธรเวชสารที่สมบูรณ์แล้ว กองบรรณาธิการ
    จะส่งไฟล์ให้ผู้นิพนธ์ทาง E-mail
  • ค่าใช้จ่ายในการตีพิมพ์ : 3,000.- บาท (สามพันบาทถ้วน)
    *ชำระค่าใช้จ่ายก่อนตีพิมพ์ (หากไม่ได้รับการตีพิมพ์ กองบรรณาธิการจะคืนค่าส่วนต่างหลังจากหักค่าดำเนินการแล้ว)

คำแนะนำผู้แต่ง

  • บทความเตรียมในรูปแบบของไฟล์ Microsoft Word for Windows ใช้ TH Sarabun PSK ขนาด 14 บนกระดาษ A4 หน้าเดียว ความยาวทั้งบทความไม่ควรเกิน 15 หน้ากระดาษ A4 มีการให้ URLs ที่เข้าถึงได้ สำหรับเอกสารที่อ้างอิงจากอินเทอร์เน็ต
  • บทความพิมพ์แบบใช้ระยะห่างบรรทัดปกติ (single-spaced) ขนาดฟ้อนท์ตัวอักษร 14 pt(ในภาษาไทย) และ 14 pt(ในภาษาอังกฤษ) ใช้ตัวเอนแทนการขีดเส้นใต้สำหรับสังกัดผู้แต่ง (ยกเว้น ที่อยู่ URL) และ ระบุข้อมูล รูปวาด รูปภาพ และตาราง ในตำแหน่งที่เหมาะสม เป็นตามข้อกำหนดของวารสาร
  • บทความเตรียมตามข้อกำหนด ทั้งในด้านของรูปแบบและการเขียนเอกสารอ้างอิง ตามคำแนะนำสำหรับผู้แต่ง (Author Guidelines)
  • นิพนธ์ต้นฉบับ : ประกอบด้วย บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ บทนำ วัตถุประสงค์ระเบียบวิธี วิจัย ผลการวิจัย/ผลการทดลอง วิจารณ์ผล/อภิปรายผล สรุปผล ข้อเสนอแนะและเอกสารอ้างอิง ความยาวทั้งบทความไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4

ชื่อบทความ/ผู้นิพนธ์ มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งวุฒิการศึกษาและสถานที่ทำงาน

รูปแบบบทคัดย่อ เพื่อให้อ่านง่ายและเป็นรูปแบบเดียวกัน ให้มีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สรุปเนื้อหากะทัดรัด โดยมีหัวข้อ ดังนี้

บทคัดย่อ: Abstract:

วัตถุประสงค์: Objective:

วิธีศึกษา: Methods:

ผลการศึกษา : Results:

สรุป: Conclusion:

คำสำคัญ: Key words:

  • การอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver Style) โดยให้ใส่ตัวเลขยกขึ้นตามลำดับของการอ้างอิง หลังชื่อผู้เขียน หรือหลังข้อความที่อ้างถึง และใช้เลขลำดับเดิมในกรณีที่มีการอ้างอิงซ้ำทุกครั้ง ส่วนเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม จัดเรียงตัวเลขตามลำดับของการอ้างอิงในเนื้อหา
  • การอ้างอิงท้ายเล่ม เป็นการนำรายการอ้างอิงในเนื้อหามารวบรวมไว้ในส่วนท้ายของผลงานวิชาการภายใต้หัวข้อ เอกสารอ้างอิง (References) โดยจัดเรียงตัวเลขตามลำดับ 1, 2, 3, 4, 5,... ซึ่งตัวเลขต้องสอดคล้องกับลำดับตัวเลขของการอ้างอิงในเนื้อหา ข้อมูลที่นำมาเขียนเอกสารอ้างอิงจะแตกต่างกันตามประเภทของเอกสารที่นำมาอ้างอิง

Articles

Section default policy

นโยบายส่วนบุคคล

ชื่อ

ที่อยู่อีเมล

เบอรฺ์โทรที่ติดต่อได้หรือข้อมูลส่วนบุคคล

ที่กรอกในเว็บไซต์วารสารนี้จะใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในงานวารสารเท่านั้นและจะไม่เปิดเผยเพื่อวัตถุประสงค์ในกิจกรรมอื่น ๆ หรือให้กับบุคคลหรือหน่วยงานอื่นใดทราบ