การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลยโสธร

ผู้แต่ง

  • พันทิวา เวชกามา หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลยโสธร จังหวัดยโสธร

คำสำคัญ:

การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย, วิธีการล้างไตทางช่องท้อง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลรูปแบบการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่อง
ท้องโรงพยาบาลยโสธร ด าเนินการระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2565 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังรายใหม่ที่
ได้รับการวางสายล้างไตทางช่องท้อง จ านวน 18 ราย และญาติผู้ดูแลจ านวน 36 ราย การวิจัยมี 4 ระยะ 1) วิเคราะห์
สถานการณ์ 2) พัฒนารูปแบบ 3) น ารูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้ และ 4) สรุปผลและปรับปรุงรูปแบบ เก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยใช้ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินการปฏิบัติตามแผนการดูแลรักษา 3) แบบประเมินการเกิด
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วย
วิธีการล้างไตทางช่องท้อง ซึ่งพัฒนาขึ้นเองโดยผู้วิจัยและผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลเชิง
ปริมาณวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ข้อมูลคุณภาพท าวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 1) โปรแกรมการดูแลผู้ป่วย 5
รูปแบบ 2) แผนการสอนและฝึกปฏิบัติ12 องค์ประกอบ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีของคิง โดยการมีส่วนร่วมของพยาบาล
ญาติผู้ป่วย อสม. และ รพ.สต. ส่งผลให้ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองได้ ไม่เกิดการติดเชื้อ
ญาติผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติตัวจากคะแนนผล Training รอบที่ 1 และประเมินซ้ ารอบที่ 2 ในอีก 6 สัปดาห์
เพิ่มขึ้น การติดตามผู้ป่วย 6–24 สัปดาห์ เมื่อกลับไปท าการล้างไตทางช่องท้องต่อเนื่องที่บ้านทุกรายไม่มีการติดเชื้อที่ช่อง
ท้องและความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับสูง ควรน ารูปแบบนี้ไปใช้เป็นแนวทางให้บริการดูแลผู้ป่วยโรค
ไตเรื้อรังและขยายผลการดูแลในผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่นๆ ทั้งในคลินิกและในชุมชน ขยายระยะเวลาในการประเมินผล และ
ติดตามการติดเชื้อระยะยาว

References

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. รายงานสถิติความชุกและอุบัติการณ์ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการบ าบัด

ทดแทนไต [อินเทอร์เน็ต]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 20 ตุลาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nephrothai.org/

ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. รายงานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประจ าปี 2554

[อินเทอร์เน็ต]. 2554 [เข้าถึงเมื่อ 20 ตุลาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก:

http://www.sem100library.in.th/opac/Catalog/BibItem.aspx?BibID

เถลิงศักดิ์ กาญจนบุศย์. Text of Practical Peritoneal Dialysis. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒน์อินเตอร์ พริ้นท์; 2556.

วราภรณ์ เลียวนรเศรษฐ, สุชาติ เจนเกรียงไกร, วารุณี เศวตมาลย์, สิริลักษณ์ สุทธรัตนกุล. การรอดชีวิตและ

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรารอดชีวิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จากเบาหวานที่ล้างไตทางช่องท้องในโรงพยาบาลมหาราช

นครราชสีมา. เวชสารโรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา มกราคม-เมษายน 2554; 35(1): 13-21.

Chaudhary K. Peritoneal Dialysis Drop-out Causes and Prevention Strategies. Int J Nephrol

; 2011:434608. doi: 10.4061/2011/434608. PubMed PMID: 22121484.

อ านวย แสงฉายศิริศักดิ์. สาเหตุของเทคนิคล้มเหลวและการเสียชีวิตระยะต้นและระยะหลังของผู้ป่วย CAPD

ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. สวรรค์ประชารักษ์เวชสาร มกราคม-เมษายน 2553; 7(1): 13–20.

หน่วยไตเทียม. สรุปข้อมูลรายงานประจ าปีงานคลินิกล้างไตทางช่องท้อง ปี 2562-2564. โรงพยาบาลยโสธร;

King IM. A theory for nursing System, concepts, process. New York: Wiley Century-Crofts; 1981.

เถลิงศักดิ์ กาญจนบุศย์, บรรณาธิการ. แนวปฏิบัติการล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2560 (Clinical Practice

Guideline (CPG) for Peritoneal Dialysis 2017). กรุงเทพฯ: เฮลธ์เวิร์ค พลัส; 2561.

ประคอง กรรณสูต. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย; 2542.

เพ็ญพร ทวีบุตร, พัชราพร เกิดมงคล, ขวัญใจ อ านาจสัตย์ซื่อ. ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและ

ให้ความรู้ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น. วารสารพยาบาลสาธารณสุข มกราคม-เมษายน

; 31(1): 129-45.

กิติมา เศรษฐ์บุญสร้าง, ประเสริฐ ประสมรักษ์. การพัฒนารูปแบบการดูแลของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ

สุดท้ายที่ได้รับการบ าบัดทดแทนไตต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย โรงพยาบาลสมเด็จพระ

ยุพราชเลิงนกทาจังหวัดยโสธร. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตุลาคม-ธันวาคม 2559;

(4): 485-503.

สุภาพร อยู่แดง, บุญทิพย์ ศิริธรังศรี, วิศิษฐ์ ประสิทธิ์ศิริกุล. การพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยไตวายที่ล้าง

ไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง หน่วยไตเทียม สถาบันบาราศนราดูร. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพการวิจัย

มกราคม-มิถุนายน 2562; 13(1): 20-30.

ราณี อรรณพานุรักษ์, อนัญญา มานิตย์. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่ล้างไตทางหน้า

ท้อง โดยใช้แนวคิดการจัดการผู้ป่วยรายกรณีโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช ลพบุรี. วารสารพยาบาล

โรคหัวใจและทรวงอก มกราคม-มิถุนายน 2558; 26(1): 133-48.

ปุณญณิน เขื่อนเพ็ชร, รุ้งลาวัลย์ กาวิละ. การพัฒนารูปแบบบริการเพื่อชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

เครือข่ายบริการสุขภาพ อ าเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย

มกราคม-มิถุนายน 2563; 7(1): 57-74.

มุจลินทร์บุญโอภาส, ทัศนา นิลพัฒน์. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยการ

ล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง ส าหรับพยาบาลวิชาชีพในเครือข่ายบริการสุขภาพ เขต 11. วารสารวิชาการ

แพทย์เขต 11 มกราคม–มีนาคม 2558; 29(1): 1-11.

มณีวรรณ ตั้งขจรศักดิ์, สมจิตร สกุลคู, ณฤดี ทิพย์สุทธิ์, วันเพ็ญ วิศิษฏ์ชัยนนท์. การพัฒนารูปแบบการดูแล

ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลหนองคาย. วารสารกองการพยาบาล มกราคม – เมษายน 2563; 47(1):

-208.

จุฑามาส พรมใจมั่น. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อความรู้ พฤติกรรมการจัดการตนเองและการเกิดเยื่อบุ

ช่องท้องอักเสบในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยคริส

เตียน; 2563.

ชิตชวรรณ คงเกษม, สุนีย์ ละก าปั่น, ปิยะธิดา จึงสมาน. โปรแกรมส่งเสริมการปรับตัวส าหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง

ระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง. วารสารพยาบาลสาธารณสุข มกราคม-เมษายน 2560;

(1): 74-89.

เผยแพร่แล้ว

2023-06-01