การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน ในโรงพยาบาลยโสธร

ผู้แต่ง

  • ธันยนันท์ ศรีธัญรัตน์ โรงพยาบาลยโสธร

คำสำคัญ:

โรคสะเก็ดเงิน, การประเมินความรุนแรงของโรคสะเก็ดเงิน, คุณภาพชีวิต

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล: โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังเรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยในด้านต่างๆ ในปัจจุบัน
การศึกษาข้อมูลอุบัติการณ์ของโรค ความเข้าใจเรื่องโรคและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินในจังหวัดยโสธรยังมีอยู่อย่าง
จำกัด
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ของโรคและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินรวมทั้งสำรวจปัญหาของผู้ป่วยที่พบใน
การรักษา
วัสดุและวิธีการ: การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์และหาความสัมพันธ์ของปัจจัยกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน
โดยผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้ป่วยสะเก็ดเงินจำนวน 128 ราย และกรอกข้อมูลลงแบบสอบถาม ในระยะเวลา 6 เดือนที่เข้ารับการตรวจ
ที่คลินิกผู้ป่วยนอกอายุรกรรมผิวหนัง โรงพยาบาลยโสธร ช่วงระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลการศึกษา: ผู้ป่วยสะเก็ดเงินจำนวน 128 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 39.08 ปี พบว่าชนิดของสะเก็ดเงินที่พบมาก
ที่สุดคือ chronic plaque ร้อยละ 94.5 บริเวณของร่างกายที่พบว่ามีผื่นมากที่สุดคือแขนและขา มีอาการปวดข้ออักเสบสะเก็ด
เงินร้อยละ 15.6 พบว่าข้อนิ้วมือเป็นตำแหน่งที่ปวดมากที่สุด พบเล็บผิดปกติมากถึงร้อยละ 76.6 มีคะแนนเฉลี่ยความรุนแรง
ของโรค (PASI) เท่ากับ 7.8 (SD 11.3, range 0.3 - 56.4) ผู้ป่วยที่มีผื่นสะเก็ดเงินระดับปานกลางถึงรุนแรง (PASI>10) 76 ราย
(ร้อยละ 59.38) และผู้ป่วยร้อยละ 43.8 ได้รับการรักษาโดยรับประทานยา Methotrexate ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของผื่น
คือการดื่มสุรา ความรู้ในตัวโรค สำหรับระดับคุณภาพชีวิต (DLQI) ของผู้ป่วยพบว่าส่วนใหญ่มีผลกระทบในระดับปานกลาง
จำนวน 37 ราย (ร้อยละ 28.9)
สรุปผลการศึกษา: โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ โดยพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ในจังหวัดยโสธรมีความ
รุนแรงของผื่นน้อย (PASI <10) มีผลต่อคุณภาพชีวิต (DLQI) ระดับปานกลาง การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยถึงวิธีปฏิบัติตน หลีกเลี่ยง
ปัจจัยกระตุ้นมีความสำคัญอย่างมากที่จะช่วยลดความรุนแรงของโรคและลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคสะเก็ดเงินได้

References

Christophers E. Psoriasis--epidemiology

and clinical spectrum. Clin Exp Dermatol

; 26(4): 314-20. doi: 10.1046/j.1365-

2001.00832.x. PubMed PMID:

Krueger GG, Duvic M. Epidemiology of

psoriasis: clinical issues. J Invest

Dermatol 1994; 102(6): 14S-18S. doi:

1111/1523-1747.ep12386079.

PubMed PMID: 8006427.

นภดล นพคุณ, ณัฐวุฒิ อาจิณพัฒน์. การสำรวจ

ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินในประเทศไทยในทาง

ระบาดวิทยา อาการทางคลินิก รวมทั้งระบบ

การดูแลรักษาโรค ความรู้เกี่ยวกับโรคสะเก็ดเงิน

และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย. วารสารโรคผิวหนัง

; 27(3): 163-81.

Akaraphanth A, Pimonpun G,

Kwangsukstid O, Swanpanyleart N. The

preliminary report: registration of

psoriasis patients in Thailand. Thai j

Dermatol 2008; 24: 32-33.

เจตน์วิทิตสุวรรณกุล,ประวิตร อัศวานนท์. Red

scaly plaques. ใน: มาริษา พงศ์พฤฒิพันธ์,

บรรณาธิการ. Current issues in

dermatology 2013: A to Z dermatology.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย; 2556. หน้า 155-73.

Oliveira Mde F, Rocha Bde O, Duarte GV.

Psoriasis: classical and emerging

comorbidities. An Bras Dermatol 2015;

(1): 9-20. doi: 10.1590/abd1806-

20153038. PubMed PMID:

พัชรสินี ประสันนาการ. ความชุกและอุบัติการณ์

ของโรคสะเก็ดเงินในโรงพยาบาลอุดรธานี.

วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลอุดรธานี 2560;

(2): 143-150.

Boehncke WH, Schön MP. Psoriasis.

Lancet 2015; 386(9997): 983-94. doi:

1016/S0140-6736(14)61909-7.

PubMed PMID: 26025581.

Armstrong AW, Schupp C, Wu J, Bebo B.

Quality of life and work productivity

impairment among psoriasis patients:

findings from the national psoriasis

foundation survey data 2003–2011. PLoS

One 2012; 7(12): e52935. doi:

1371/journal.pone.0052935. PubMed

PMID: 23285231.

Wongwiwat W. Knowledge of Thai

traditional healers on utilization of

medicinal plants for psoriasis treatment

in Songkhla, Phatthalung, Trang and

Satun Provinces [Dissertation]. Songkhla:

Prince of Songkhla university; 2013.

Boontae U, Duangchan C, Tawchantuk S,

Polin S. Elder’s health status and quality

of life under the health care provided

by community network and simulated

families. Journal of nursing and health

care 2017; 35(3): 175-85.

Thakolwiboon S, Upala S, Geeratragool

T, Benjatikul N, Uathaya M, Tripipitsiriwat

A, et al. The factors affecting quality of

life in Thai psoriasis patients. J Med

Assoc Thai 2013; 96(10): 1344-9. PubMed

PMID: 24350418.

Farahangiz S, Hadi N, Naseri M, Agah E,

Montazeri A. Assessment of healthrelated quality of life in patients with

psoriasis in comparison with normal

subjects in Shiraz Iran. Shiraz E-Med J

; 15(2): e20589. doi:

17795/semj20589.

Tejada Cdos S, Mendoza-Sassi RA,

Almeida HL Jr, Figueiredo PN, Tejada VF.

Impact on the quality of life of

dermatological patients in southern

Brazil. An Bras Dermatol 2011; 86(6):

-21. doi: 10.1590/s0365-

PubMed PMID:

บุญศรี เลิศวิริยจิตต์. การแพทย์แผนไทย: การ

บำบัดรักษาโรคสะเก็ดเงิน [รายงานการวิจัย

ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน

สุนันทา]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน

สุนันทา; 2555.

Mabuchi T, Yamaoka H, Kojima T, Ikoma

N, Akasaka E, Ozawa A. Psoriasis affects

patient’s quality of life more seriously in

female than in male in Japan. Tokai J

Exp Clin Med 2012; 37(3): 84-8. PubMed

PMID: 23032250.

Manjula VD, Sreekiran S, Saril PS,

Sreekanth MP. A study of psoriasis and

quality of life in a tertiary care teaching

hospital of kottayam, kerala. Indian J

Dermatol 2011; 56(4): 403-6. doi:

4103/0019-5154.84767. PubMed

PMID: 21965848.

Parisi R, Symmons DP, Griffiths CE,

Ashcroft DM. Global epidemiology of

psoriasis: a systematic review of

incidence and prevalence. J Invest

Dermatol 2013; 133(2): 377-85. doi:

1038/jid.2012.339. PubMed PMID:

Chen CY. Quality of life and its

associated factors for psoriasis patients

in China: a cross-sectional study from

hospital-based data [Dissertation].

Stockholm, Sweden: Karolinska

institutet; 2016.

นภดล นพคุณ, ณัฎฐา รัชตะนาวิน, ป่วน สุทธิ

พินิจธรรม, พรทิพย์ภูวบัณฑิตสิน,รัศนีอัคร

พันธุ์, ชนิษฏา ตู้จินดา, และคณะ. แนวทางการ

ดูแลผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis). สถาบัน

โรคผิวหนัง [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 8

กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก:

https://www.iod.go.th/clinical-practiceguideline-for-psoriasis-2011

กนกวลัย กุลทนันทน์, สุขุม เจียมตน, รังสิมา

วณิชภักดีเดชา, สุนันทา ฉันทรุจิกพงศ์.

การศึกษาความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม

dermatology life quality index ในคนไทย.

วารสารโรคผิวหนัง 2547; 20(3): 113-23.

ลีนา จุฬาโรจน์มนตรี, ป่วน สุทธิพินิจธรรม,

กนกวลัย กุลทนันทน์. การทดสอบความเที่ยง

และความตรงของแบบสอบถาม psoriasis

dermatology index (PDI) ฉบับภาษาไทย.

วารสารโรคผิวหนัง 2552; 25: 141-152.

ประวิตร อัศวานนท์. ความจริงเกี่ยวกับโรค

สะเก็ดเงิน. Medical focus 2556; 59: 32-3.

นภดล นพคุณ. โรคสะเก็ดเงิน. สมาคมแพทย์

ผิวหนังแห่งประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2560

[เข้าถึงเมื่อ 8 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก:

http://www.dst.or.th/html/index.php?op

=article-detail&id=153&csid=8&cid=23

ชนิตว์วัณณ์ วิชญชาคร. โรคสะเก็ดเงินที่เล็บ.

สมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย

[อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 8 กันยายน

. เข้าถึงได้จาก:

http://www.dst.or.th/Publicly/Articles/11

23.8/DypLjyz4Tv

ชนิษฎา วงษ์ประภารัตน์. โรคสะเก็ดเงิน

(Psoriasis). คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

มหาวิทยาลัยมหิดล [อินเทอร์เน็ต]. 2560

[เข้าถึงเมื่อ 8 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก:

https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthd

etail.asp?aid=967

Aekplakorn W, Kosulwat V,

Suriyawongpaisal P. Obesity indices and

cardiovascular risk factors in Thai adults.

Inter J Obes (Lond) 2006; 30(12): 1782–

doi: 10.1038/sj.ijo.0803346. PubMed

PMID: 16619055.

Chen K, Wang G, Jin H, Xu J, Zhu X,

Zheng M, et al. Clinic characteristics of

psoriasis in China: a nationwide survey in

over 12000 patients. Oncotarget 2017;

(28): 46381-9. doi:

18632/oncotarget.18453. PubMed

PMID: 28637026.

Kim ES, Han K, Kim MK, Park YM, Baek

KH, Moon SD, et al. Impact of metabolic

status on the incidence of psoriasis: a

Korean nationwide cohort study. Sci Rep

; 7(1): 1989. doi: 10.1038/s41598-

-01983-y. PubMed PMID: 28512338.

Milčić D, Janković S, Vesić S, Milinković

M, Marinković J, Ćirković A, et al.

Prevalence of metabolic syndrome in

patients with psoriasis: a hospital-based

cross-sectional study. An Bras Dermatol

; 92(1): 46-51. doi:

1590/abd1806-4841.20175178.

PubMed PMID: 28225956.

Feldman SR, Tian H, Gilloteau I, Mollon

P, Shu M. Economic burden of

comorbidities in psoriasis patients in the

United States: results from a

retrospective U.S. database. BMC Health

Serv Res 2017; 17(1): 337. doi:

1186/s12913-017-2278-0. PubMed

PMID: 28482887.

Jankowiak B, Krajewska-Kulak E,

Baranowska A, Krajewska K, Rolka H,

Sierakowska M, et al. The importance of

the health education in life quality

improvement in patients with psoriasis.

Rocz Akad Med Bialymst 2005;

Suppl1: 145-7. PubMed PMID:

เผยแพร่แล้ว

2022-07-01